การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม ๑๙ พ.ค. ๕๓
ทำไมต้องเฝ้าระวัง/เตือนภัย
การเฝ้าระวัง สม่ำเสมอและต่อเนื่อง เป็นกระบวนการเชิงระบบในการติดตาม สังเกตุอย่าง สม่ำเสมอและต่อเนื่อง เป็นการตรวจความผิดปกติของสถานการณ์ในพื้นที่ / ประชากรที่เสี่ยงต่อปัญหา เป็นการประเมินผลสำเร็จของการดำเนินงานป้องกัน และคุ้มครองทางสังคม
การเตือนภัย สาระสำคัญที่บ่งบอกถึงภาวะอันตราย ซึ่งอาจเกิดผลกระทบในวงกว้าง หากปราศ จากการเตือนล่วงหน้า
เนื้อหาการเฝ้าระวัง การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ความไม่เป็นระเบียบของสังคม พฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานของสังคม
การพัฒนาสังคม การพัฒนาคน การพัฒนาครอบครัว การพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคน จำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ สตรี คนพิการ
ความมั่นคงของมนุษย์ ไม่กลัว อาศัยกระบวนการคุ้มครองจากความรุนแรงทุกรูปแบบที่เกิดจากความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน ไม่หิว อาศัยกระบวนการสร้างหลักประกันการเข้าถึงการพัฒนา
กระบวนการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม -แจ้งเตือน/สื่อสาร -ออกมาตรการ -กำหนดโครงการ นำเข้า ข้อมูล นำเสนอ/ ตัดสินใจ ประมวลผล/ พยากรณ์ เฝ้าระวังต่อไป ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ
การนำเข้าข้อมูล ต้องทราบว่าเฝ้าระวังอะไร อะไรเป็นตัวบ่งชี้/ตัวชี้วัดของการเฝ้าระวัง แหล่งข้อมูลอยู่ไหน
กระบวนการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม -แจ้งเตือน/สื่อสาร -ออกมาตรการ -กำหนดโครงการ นำเข้า ข้อมูล นำเสนอ/ ตัดสินใจ ประมวลผล/ พยากรณ์ เฝ้าระวังต่อไป ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ