แนวทางการดำเนินงานตู้ยาในครัวเรือน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

เด็กไทยทำได้ ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โครงการ..เยียวยาบริการปฐมภูมิถึงบ้าน และครัวเรือนผู้ประสบภัย
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
รายงานการติดตามการจัดการ R3 23 พฤษภาคม น.
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
Medication reconciliation
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1. กลุ่มเป้าหมาย แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่เวช สถิติจากทุกโรงพยาบาล 2. วิธีการพัฒนา เน้นการลงมือปฏิบัติการตรวจสอบ จากแฟ้มผู้ป่วยในจริง โดยเน้น รพ. ชะอำ.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
การนิเทศติดตาม.
สรุปผลการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยโซน
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สาขาโรคมะเร็ง.
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย Iodize oil capsul ประเด็นนำเสนอ.
ซอฟท์แวร์บริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย Iodize oil capsul ประเด็นนำเสนอ.
 เพื่อเป็นการธำรงคุณภาพของงานด้านเภสัชกรรม ตามที่มีการวางระบบไว้และเป็นโอกาสพัฒนางาน ด้านเภสัชกรรมด้านต่างๆสำหรับเภสัชกรที่ หมุนเวียนมารับหน้าที่
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานตู้ยาในครัวเรือน โดย งานคุ้มครองผู้บริโภค ฝ่ายเภสัชกรรม รพ.ศรีบุญเรือง ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเมืองใหม่ และ ตัวแทนเครือข่ายแกนนำหมู่บ้าน (นำร่อง)

ลักษณะการดำเนินงาน งานคุ้มครองผู้บริโภค ร่วมกับ รพ.สต.เมืองใหม่ ร่วมพิจารณาถึง นโยบาย เรื่องตู้ยาในครัวเรือน ที่ผู้ตรวจ จะมาเยี่ยมฯ รายการยาสามัญประจำบ้านในตู้ยา (เบื้องต้น) หมู่บ้านตัวอย่าง ที่จะนำร่อง (เป็นห้วยไผ่ ต.เมืองใหม่ อ.ศรีบุญเรือง จำนวน 95 ครัวเรือน) การประสานกับ อปท. , อบต. , ด้านการสนับสนุนตู้ยา การประสานแกนนำหมู่บ้าน ด้านการใช้ยา (องค์ความรู้, แนวทางการเบิกยา,และการใช้ การดูแล การรักษา ดูยาหมดอายุ)

ลักษณะการดำเนินงาน งาน คบส. และ รพ.สต.เมืองใหม่ ร่วมพิจารณากับ อปท.อบต. นโยบายของการดำเนินงานด้าน ตู้ยาในครัวเรือน การสนับสนุนงบประมาณ จัดการให้ซื้อตู้ยา แจกจ่ายให้ทุกครัวเรือน การสนับสนุนให้มีระบบ การเบิกยาเติมเต็ม กรณีที่มีการใช้ยาไปแล้ว แนวทางจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ด้านองค์ความรู้ด้านยา วิธีใช้ยา

การสนับสนุนด้านยา กำหนดรายการยาที่จะต้องมีในตู้ยาครัวเรือน Antacid tab 20 tab ORS เด็ก 10 ซอง Para 500mg tab 20 tab Para 325mg tab 20 tab Para syr 1 ขวด CPM tab 20 tab M.tussive 1 ขวด Dimen tab 20 tab Vit B complex 20 tab Alcohol 30ml 1 ขวด Povidine 30ml 1 ขวด

ระบบการเบิกยาเติมเต็ม กำหนดรายการยา และปริมาณจำนวนยา มีตู้ยา และ จำนวนยาทุกรายการ ครบ ในตู้ยา หากใช้ยาไปแล้ว มีทะเบียนจ่ายยา ควบคุม (ตามเหตุผล สมควร พอประมาณ) หากยาใกล้จะหมดแล้ว ให้นำทะเบียนจ่ายยา มาขอเบิกยาที่ งาน คบส. ฝ่ายเภสัชกรรม รพ.ศรีบุญเรือง อนุญาต จ่ายยาตามการรักษาเบื้องต้น ไม่อนุญาต ให้จ่ายยา กรณีจะเดินทางไปทำงาน/ต่างถิ่น ที่จะเบิกยาไปทั้งหมด กำหนดทะเบียนเบิกยาสู่ตู้ยา และลายเซ็นของ จนท. ที่เบิกยาให้ เบิกยาให้ฟรี ไม่มีคิดค่าบริการใด ๆ ทั้งสิ้น (เสียแต่เวลา และน้ำมัน มาเบิกยาเอง) ให้คนอื่นเบิกยาแทนได้

ทะเบียนควบคุมการจ่ายยา (เก็บไว้ที่ตู้ยา) บ้านเลขที่............หมู่ที่............ บ้านหนองไผ่ อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวลำภู เจ้าของบ้านชื่อ ............................................................................................. วันที่เบิกยา ยาที่เบิกจ่าย เหตุผลที่ขอเบิก จำนวนที่จ่าย/เหลือ ผู้จ่ายยา 1 กค 54 ยา para 500 ปวดหัว 2 / 18 นาย ก. (พ่อ) 3 กค.54 ไข้ 6 / 12 นาง ข. (แม่) 5 กค 54 6 / 6 นาง จ.

ทะเบียนการเบิกจ่ายยา เติมเต็ม (จนท.เขียน) จนท. เขียนจ่าย เพื่อกำหนดปริมาณยา ให้ผู้เบิก นำยาไปไว้คืนในตู้ยา และ กำหนดจำนวน stock อีกที เบิกยาคืน กี่รายการก็ได้ ไม่จำเป็นต้องมีรายการเดียวที่ต้องมาเบิกยา วันที่เบิก ยาที่จ่ายคืน จำนวนจ่าย ลายเซ็น จนท. ลายเซ็น ผู้รับยา 15 กค.54 Para 500 20 tab ภก.จีรวัฒน์ นาย ก.

ข้อซักถาม ไม่มีการจับผิด ไม่มีการเสียค่าบริการ (ไม่ต้องซื้อยา) มีการให้องค์ความรู้ด้านยาโดย เภสัชกร / จนท. รพ. ยาและการรักษาโรคเบื้องต้น การดูแลอายุยา วิธีสังเกตยาเสื่อมสภาพ หมดอายุ วิธีการใช้ยาให้ถูกขนาด ถูกวิธี เพื่อความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค การเบิกจ่าย อาจใช้แกนนำ อสม.เป็นตัวแทน มาเบิกยา โดยต้องมีทะเบียนจ่ายยา (เก็บในตู้ยา) มาด้วยทุกครั้ง