สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
กลยุทธ์การขับเคลื่อน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
หน่วยที่ 4.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การตรวจประเมินเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ผู้บริหารการศึกษาและศึกษานิเทศก์ เพื่อให้มีและเลื่อนวิทยฐานะ
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
การเขียนรายงานการวิจัย
แนวคิดในการทำวิจัย.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
๘ กลยุทธ์ การยกระดับและคุณภาพ O-NET ปี ๒๕๕๕
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การเขียนโครงการ.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การดำเนินงานโครงการ การพัฒนาวิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาเพื่อส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ที่สะท้อนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Elementary Science Teacher Professional Development to enhance the Reflection of Nature of Science and Technology Learning Activity) สถาบันวิทยาศาสตร์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ที่มาและความสำคัญ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในระดับประถมศึกษาไม่ได้ สะท้อนลักษณะสำคัญของ วิทยาศาสตร์ การเรียนการ สอนจึงไม่ต่างจาก วิชาอื่น ๆ เช่น ภาษาไทย สังคม ครูประถมส่วนใหญ่ไม่จบ วิทยาศาสตร์

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์จะช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ได้อย่างไร ผู้สอน*** – จัดการเรียนการสอนที่เน้น ลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์ที่แท้จริง ตามที่วิทยาศาสตร์เป็น (Nature of Science –NOS) ผู้เรียน – ผ่านประสบการณ์การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่แท้จริงตามที่ครูออกแบบ และจัดประสบการณ์ การวัดและประเมินผล – วัดผลและ ประเมินผลตามลักษณะสำคัญของ วิทยาศาสตร์ เช่น PISA TIMSS

ประเด็นธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ๑. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ต้องอาศัย หลักฐาน ๒. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ ๓. กฎและทฤษฎีเป็นความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกัน ๔. การศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มี หลากหลายวิธี ๕. การหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีทั้งการ สังเกตและการลงข้อสรุป ๖. การทำงานทางวิทยาศาสตร์ต้องอาศัย ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ๗. วิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งของ มนุษย์ซึ่งได้รับผลกระทบจาก ประสบการณ์ ความเชื่อ และมุมมอง ๘. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและ วัฒนธรรมจะส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน

เอกสารประกอบการดำเนินกิจกรรม คู่มือการดำเนินโครงการ คู่มือการอบรมเชิงปฏิบัติการ ( 2 บทความ 13 แผนการอบรม แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม Bibliography รายชื่อนักวิจัยที่ ทำงานเกี่ยวกับ Nature of Science) แบบบันทึกกิจกรรมการอบรม เชิงปฏิบัติการ

ภาพตัวอย่างกิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 4 สิงหาคม 2555 ครูประถมศึกษา (กลุ่ม KM สนก.)

อุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรม

กรอบการดำเนินงานโครงการ

กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555 ระดมความคิดเกี่ยวกับการพัฒนา หลักสูตรอบรมครูและหารูปแบบการ พัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายผล ให้เกิดผลกระทบใน วงกว้างในครูระดับประถม โดยเฉพาะครูที่มีผลการประเมิน กลุ่มต้น วางโครงร่างหลักสูตรการอบรมจาก กิจกรรมและเนื้อหา ที่เป็นผลจาก การวิจัย การศึกษาเอกสาร การ ทำงานของอาจารย์ นักวิจัย ครู และศึกษานิเทศก์

กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555 ศึกษาตัวชี้วัดสาระที่ 1-8 ระดับชั้น ประถมศึกษา เพื่อสกัดเอาเนื้อหาที่มี ปัญหา สอนยาก นักเรียนเกิด แนวคิดที่คลาดเคลื่อน เพื่อใช้การ เรียนการสอน ที่เน้นธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์เข้าไปช่วยแก้ปัญหา โดยใช้ เอกสารงานวิจัย คู่มือ ผล การค้นพบ และความสอดคล้องกับ หนังสือเรียน สสวท. (แยกกลุ่มตาม สาระ ว.1-2, ว.3, ว.4-5 ,ว.6, ว.7) พัฒนาเล่มหลักสูตรและคู่มือการอบรม เชิงปฏิบัติการ เพื่อนำไปเสนอ ผู้เชี่ยวชาญตรวจและปรับรูปแบบ เพื่อประชุมพิจารณารอบที่ 2

กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555 วางแผนการดำเนินงานของ โครงการ กำหนดงบประมาณ จำนวนคน จำนวนครั้งที่อบรม และการวิจัยพัฒนา วางแผนและออกแบบการขยายผล นิเทศติดตาม วางแผนดำเนินการในระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2556 วางแผนดำเนินการนิเทศติดตาม

กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555 จัดทำหลักสูตรอบรมในรอบที่ 1 เพื่อศึกษา ความต้องการ สมรรถนะครูและรูปแบบการอบรม (ได้รูปเล่ม จัดรายการอุปกรณ์ กำหนดเวลา คน และ งบประมาณที่ใช้) สร้างเครื่องมือเพื่อศึกษา ความ ต้องการและสมรรถนะของครูใน การใช้ ICT และผลตอบรับจาก การอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อ นำไปปรับปรุงและออกแบบ หลักสูตรที่เหมาะสมและตรงกับ ความต้องการของครู