สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การดำเนินงานโครงการ การพัฒนาวิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาเพื่อส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ที่สะท้อนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Elementary Science Teacher Professional Development to enhance the Reflection of Nature of Science and Technology Learning Activity) สถาบันวิทยาศาสตร์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่มาและความสำคัญ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในระดับประถมศึกษาไม่ได้ สะท้อนลักษณะสำคัญของ วิทยาศาสตร์ การเรียนการ สอนจึงไม่ต่างจาก วิชาอื่น ๆ เช่น ภาษาไทย สังคม ครูประถมส่วนใหญ่ไม่จบ วิทยาศาสตร์
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์จะช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ได้อย่างไร ผู้สอน*** – จัดการเรียนการสอนที่เน้น ลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์ที่แท้จริง ตามที่วิทยาศาสตร์เป็น (Nature of Science –NOS) ผู้เรียน – ผ่านประสบการณ์การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่แท้จริงตามที่ครูออกแบบ และจัดประสบการณ์ การวัดและประเมินผล – วัดผลและ ประเมินผลตามลักษณะสำคัญของ วิทยาศาสตร์ เช่น PISA TIMSS
ประเด็นธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ๑. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ต้องอาศัย หลักฐาน ๒. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ ๓. กฎและทฤษฎีเป็นความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกัน ๔. การศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มี หลากหลายวิธี ๕. การหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีทั้งการ สังเกตและการลงข้อสรุป ๖. การทำงานทางวิทยาศาสตร์ต้องอาศัย ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ๗. วิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งของ มนุษย์ซึ่งได้รับผลกระทบจาก ประสบการณ์ ความเชื่อ และมุมมอง ๘. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและ วัฒนธรรมจะส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน
เอกสารประกอบการดำเนินกิจกรรม คู่มือการดำเนินโครงการ คู่มือการอบรมเชิงปฏิบัติการ ( 2 บทความ 13 แผนการอบรม แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม Bibliography รายชื่อนักวิจัยที่ ทำงานเกี่ยวกับ Nature of Science) แบบบันทึกกิจกรรมการอบรม เชิงปฏิบัติการ
ภาพตัวอย่างกิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 4 สิงหาคม 2555 ครูประถมศึกษา (กลุ่ม KM สนก.)
อุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรม
กรอบการดำเนินงานโครงการ
กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555 ระดมความคิดเกี่ยวกับการพัฒนา หลักสูตรอบรมครูและหารูปแบบการ พัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายผล ให้เกิดผลกระทบใน วงกว้างในครูระดับประถม โดยเฉพาะครูที่มีผลการประเมิน กลุ่มต้น วางโครงร่างหลักสูตรการอบรมจาก กิจกรรมและเนื้อหา ที่เป็นผลจาก การวิจัย การศึกษาเอกสาร การ ทำงานของอาจารย์ นักวิจัย ครู และศึกษานิเทศก์
กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555 ศึกษาตัวชี้วัดสาระที่ 1-8 ระดับชั้น ประถมศึกษา เพื่อสกัดเอาเนื้อหาที่มี ปัญหา สอนยาก นักเรียนเกิด แนวคิดที่คลาดเคลื่อน เพื่อใช้การ เรียนการสอน ที่เน้นธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์เข้าไปช่วยแก้ปัญหา โดยใช้ เอกสารงานวิจัย คู่มือ ผล การค้นพบ และความสอดคล้องกับ หนังสือเรียน สสวท. (แยกกลุ่มตาม สาระ ว.1-2, ว.3, ว.4-5 ,ว.6, ว.7) พัฒนาเล่มหลักสูตรและคู่มือการอบรม เชิงปฏิบัติการ เพื่อนำไปเสนอ ผู้เชี่ยวชาญตรวจและปรับรูปแบบ เพื่อประชุมพิจารณารอบที่ 2
กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555 วางแผนการดำเนินงานของ โครงการ กำหนดงบประมาณ จำนวนคน จำนวนครั้งที่อบรม และการวิจัยพัฒนา วางแผนและออกแบบการขยายผล นิเทศติดตาม วางแผนดำเนินการในระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2556 วางแผนดำเนินการนิเทศติดตาม
กรอบการดำเนินงาน วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2555 จัดทำหลักสูตรอบรมในรอบที่ 1 เพื่อศึกษา ความต้องการ สมรรถนะครูและรูปแบบการอบรม (ได้รูปเล่ม จัดรายการอุปกรณ์ กำหนดเวลา คน และ งบประมาณที่ใช้) สร้างเครื่องมือเพื่อศึกษา ความ ต้องการและสมรรถนะของครูใน การใช้ ICT และผลตอบรับจาก การอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อ นำไปปรับปรุงและออกแบบ หลักสูตรที่เหมาะสมและตรงกับ ความต้องการของครู