สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

งบประมาณ ปี 2551 ขอไป 2,139 บ / ปชก ได้มา 2,100 บ / ปชก สปสช. สำนักงบประมาณ 97,600 ล้านบาท หักเงินเดือน 25,400 ล้านบาท 72,200 ล้านบาท.
ช่องทางการกำกับติดตามข้อมูลจาก สปสช.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2556
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
การเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 4 มิ.ย. 2556
การตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพ ปี 2554 ตามมติ ครม. มี 2 งวด ได้แก่
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
สรุปผลการดำเนินงานโครงการ “ยิ้มสดใส เด็กไทยฟันดี"
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
งบประมาณ โครงการไข้หวัดใหญ่ จาก สปสช.
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 “ประเด็นที่แตกต่างจากปีงบประมาณ 2556” โดย นพ.สุธนะ เสตวรรณา รองผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต.
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ระเบียบวาระ 3.3 สรุปการ.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
อัตราการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลกรณีผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลนครพนม
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารกองทุนผู้ป่วยนอกทั่วไป 2555 การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
M&E M&E by..nuntana Claim Claim.
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารจัดการ Asthma & COPD 1.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
เหมาจ่ายรายหัว ประเภทบริการ ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี บริการผู้ป่วยนอก บริการผู้ป่วยใน
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน P Refer เสนอในการประชุมชี้แจงเขตเรื่องแนวทางการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 วันที่ 23 สิงหาคม 2555 สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน

กรอบแนวทางบริหารงบ งบเหมาจ่ายรายหัวประเภทบริการกรณีเฉพาะ จำนวน 262.10 บาท : ประชากร (ผู้มีสิทธิ) แบ่งเป็นประเภทบริการย่อย 3 รายการ ได้แก่ 1. ค่าใช้จ่ายสูง (HC) 2. อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน (AE) 3. การบริหารจัดการโรคเฉพาะและกรณีเฉพาะ (DMI)

ปี 2555 ปี 2556 ผลต่าง ปี 56 กับปี 55 รวมงบ ประเภทบริการ ปี 2555 ปี 2556 ผลต่าง ปี 56 กับปี 55 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 985.78 983.49 -2.29 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 972.17 975.85 3.68 3. เพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่ สูง 60.99 4. HC/AE/DMI/ยาจำเป็นฯ 250.49 262.10 11.61 5. บริการสร้างเสริมป้องกัน (P&P) 313.70 6. บริการทันตกรรมประดิษฐ์ 4.09 ปี 56 ยุบรวมในรายการ ที่ 4 7. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 13.07 12.88 -0.19 8. บริการแพทย์แผนไทย 7.20 9. งบค่าเสื่อม 141.50 128.69 -12.81 10. งบส่งเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76 11. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 1.10 5.19 12. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ให้บริการ 0.75 รวมงบ 2,755.60

OP Refer 56 การบริการผู้ป่วยนอกรับส่งต่อเฉพาะข้ามจังหวัด จ่ายแบบร่วม จ่ายกับหน่วยบริการประจำ โดยหน่วยบริการประจำจ่ายส่วน ที่ไม่เกินเพดานต่อครั้งบริการที่ สปสช.กำหนด และให้ สปสช.ทำหน้าที่ในการหักชำระบัญชีระหว่างกัน (Clearing house) แทนหน่วยบริการประจำ โดย 1) หน่วยบริการประจำตามจ่ายตามจริงไม่เกิน 1,600 บาท / visit 2) ส่วนเกินเพดานที่กำหนด สปสช.ร่วมจ่ายจากกองทุน Central reimbursement 3) สปสช.ทำหน้าที่ในการหักชำระบัญชีระหว่างกัน (Clearing house) แทนหน่วยบริการประจำ 4) สปสช.ทำหน้าที่รับข้อมูล ประมวลผลข้อมูลและออก รายงาน statement

เหตุผลความจำเป็น เพื่อปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับบริการตามความจำเป็น เพื่อปกป้องหน่วยบริการประจำ โดยการทำ Risk sharing เมื่อถูกเรียกเก็บในราคาที่สูงมาก เพื่อกำกับติดตามการเรียกเก็บจากหน่วยบริการรับส่งต่อ ลดการเรียกเก็บซ้ำซ้อนกับกรณีส่วนกลางจ่าย สปสช.เป็นผู้ชำระบัญชีแทน CUP/จังหวัดทั่วประเทศเพื่ออำนวยความสะดวกแก่กองทุนจังหวัดและหน่วยบริการที่รักษา

เปรียบเทียบการบริหารงบ OP Refer ปี 55-56 ลำ ดับ รายละเอียด ปี 2555 ปี 2556 1 งบประมาณ บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป (OP Cap) บริการกรณีเฉพาะ (HC/AE/DMI) 2 การบริหารงบ กองทุนระดับเขต / จังหวัด กองทุนกลางระดับประเทศ (Central reimbursement) 3 การจ่ายชดเชย 1) ค่าใช้จ่าย ≤1,600 บาท ใช้เงินเหมาจ่ายรายหัวกรณีผู้ป่วยนอกทั่วไป ( OP Cap) โดย สปสช. หักจาก CUP/จังหวัด   2) ส่วนเกินจาก 1) ใช้เงิน OP Refer ของ CUP/จังหวัด ที่กันไว้บริหารที่ส่วนกลาง 1) เช่นเดียวกับปี 55 2) ส่วนเกินจาก 1) ใช้เงินกองทุนกลางระดับประเทศ

เปรียบเทียบการบริหารงบ OP Refer ปี 55-56 ลำ ดับ รายละเอียด ปี 2555 ปี 2556 4 รายการที่กำหนดราคากลาง มี 171 รายการ เช่นเดียวกับปี 55 5 การชำระบัญชี (Clearing house) สปสช.หักชำระบัญชีระหว่างกันแทน CUP/จังหวัด