หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ.
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กลุ่มที่ 1.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล โดย ดร.อรัญ โสตถิพันธุ์

ความหมายของความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาสที่ผลผลิตของการดำเนินงานไม่บรรลุผลลัพธ์ อันเนื่องมาจากการขาดหลักธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการ แบ่งเป็น ความเสี่ยงจากการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ความเสี่ยงด้านการตอบสนองความต้องการที่แท้จริง ของประชาชน (Negotiation Risk)

ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ประเภทของความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล สาเหตุ ความสอดคล้อง 1. ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 1.1) เนื้อหาของแผนงาน-โครงการไม่ตอบสนองต่อประเด็นยุทธศาสตร์หรือนโยบายของจังหวัด กลุ่มจังหวัดและรัฐบาล หลักภาระรับผิดชอบ 1.2) ขาดการประสานการดำเนินงานระหว่างภาคีหุ้นส่วนที่เกี่ยวข้องกับผลสำเร็จอย่างยั่งยืนของแผนงาน-โครงการ หลักการมีส่วนร่วม 2. ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ขาดความรับผิดชอบต่อการใช้งบประมาณจำนวนมากให้เกิดความคุ้มค่าโดยมีกลไกที่พอเพียงในการตรวจสอบประเมิน จนอาจส่งผลให้เกิดผลกระทบทางลบจากสื่อมวลชนได้ หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่า 3. ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) 3.1) ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้ได้รับประโยชน์โดยตรงต่อแผนงาน-โครงการ 3.2) การดำเนินงานตามแผนงาน-โครงการ มิได้กระจายผลประโยชน์ที่ถูกต้อง ชอบธรรมไปยังภาคส่วนที่ควรได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง

เหตุผลความจำเป็น เพื่อสร้างหลักประกันว่า การของบประมาณของส่วนราชการ มีความ รอบคอบรัดกุมโดยคำนึงถึงมาตรการป้องกันและแก้ไขโอกาส ผิดพลาดหรือความเสี่ยงเป็นการล่วงหน้า ดังนั้น การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล จึงมิใช่เป็นการ ประจานข้อบกพร่องจนบั่นทอนโอกาสที่จะได้รับงบประมาณ ในทาง ตรงกันข้าม ทำให้การของบประมาณ มีความหนักแน่น น่าเชื่อถือมาก ยิ่งขึ้น การหามาตรการป้องกันและจัดการกับโอกาสผิดพลาดไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย คือ สิ่งที่ “ควรกระทำ” ควบคู่กับการ “วางแผน” อยู่แล้ว แสดงให้เห็นถึง การปฏิบัติราชการด้วยระบบภูมิคุ้มกันที่ดี เพื่อสร้างหลักประกันว่า ระบบการตรวจราชการ จะสามารถมีบทบาท ในการลดความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลได้ตามข้อมูลที่ส่วนราชการ ได้มีการวิเคราะห์ไว้แล้วล่วงหน้า

ขั้นตอนการวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล คัดเลือกโครงการที่มีความสำคัญสูง ระบุประเภทของความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล ให้ค่าคะแนนโอกาสและระบุปัจจัยเสี่ยง ให้ค่าคะแนนผลกระทบและอธิบายขนาดของ ผลกระทบ คำนวณดัชนีความเสี่ยง กำหนดแนวทางจัดการความเสี่ยง

เป้าประสงค์ของการวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล คือ การนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้บริหารโครงการที่มีความสำคัญและความเสี่ยงมาก สำคัญมาก สำคัญมาก/ความเสี่ยงน้อย โครงการสำคัญ สำคัญน้อย/ความเสี่ยงน้อย สำคัญน้อย/ ความเสี่ยงน้อย ความเสี่ยงน้อย ความเสี่ยงมาก สำคัญน้อย

ขั้นตอนที่1-คัดเลือกโครงการที่มีความสำคัญสูง ชื่อโครงการ เกณฑ์การคัดเลือก อันดับความสำคัญ (4) หากผิดพลาดจะส่งผลกระทบต่อประเด็นยุทธศาสตร์ของกระทรวงและรัฐบาลเพียงใด? (1-5) (3) เป็นโครงการที่มีการริเริ่มปรับปรุงใหม่เพียงใด? (2) ใช้งบประมาณสูงเพียงใด? เมื่อเปรียบเทียบกับโครงการอื่น (1) นำไปปฏิบัติครอบคลุมพื้นที่หลายจังหวัดเพียงใด? เมื่อเปรียบเทียบกับโครงการอื่น 1.โครงการสร้างผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ 5x4=20 4x3=12 4x2=8 5x1=5 45

ขั้นตอนที่2-ระบุประเภทของความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม......... กระทรวง....... ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk)

ขั้นตอนที่3-ให้ค่าคะแนนโอกาสและระบุปัจจัยเสี่ยง ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม......... กระทรวง....... ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 4 ไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคีภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายอาจขาดความเชื่อมั่นต่อความจริงจังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำปัญหาและความต้องการที่ได้จากการทำประชาพิจัย ไปประกอบการจัดสรรแผนงาน/โครงการ 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) ไม่สามารถรองรับการพัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่เนื่องจากอาจดำเนินการประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทั่วถึง

ขั้นตอนที่4-ให้ค่าคะแนนผลกระทบและอธิบายขนาดของผลกระทบ ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม......... กระทรวง....... ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 4 ไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคีภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่สามารถเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายความรู้ระหว่างชุมชน 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายอาจขาดความเชื่อมั่นต่อความจริงจังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำปัญหาและความต้องการที่ได้จากการทำประชาพิจัย ไปประกอบการจัดสรรแผนงาน/โครงการ ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่มีส่วนร่วมในการผลักดันแผนแม่บทชุมชนไปสู่การปฏิบัติจริงร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) ไม่สามารถรองรับการพัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่เนื่องจากอาจดำเนินการประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทั่วถึง ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

ขั้นตอนที่5-คำนวณดัชนีความเสี่ยง ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม......... กระทรวง....... ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 4 ไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคีภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่สามารถเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายความรู้ระหว่างชุมชน 8 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายอาจขาดความเชื่อมั่นต่อความจริงจังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำปัญหาและความต้องการที่ได้จากการทำประชาพิจัย ไปประกอบการจัดสรรแผนงาน/โครงการ ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่มีส่วนร่วมในการผลักดันแผนแม่บทชุมชนไปสู่การปฏิบัติจริงร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) ไม่สามารถรองรับการพัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่เนื่องจากอาจดำเนินการประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทั่วถึง ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

แนวทางจัดการความเสี่ยง หลีกเลี่ยง-คือ การตัดสินใจลดหรือระงับกิจกรรมการ ดำเนินงาน ยอมรับ-คือ การตัดสินใจดำเนินงานตามกิจกรรมนั้น โดย ไม่กำหนดแนวทางจัดการความเสี่ยงเนื่องจากมั่นใจว่า ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่รับได้ ควบคุม-คือ การหามาตรการลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ รับได้ ถ่ายโอน-คือ การให้หน่วยงานหรือกลุ่มบุคคลอื่นดำเนิน กิจกรรมที่มีความเสี่ยงนั้นๆ แทน เนื่องจากเล็งเห็นว่า สามารถดำเนินการได้ดีกว่า คล่องตัวกว่าและด้วยเหตุ ดังนั้น จึงจัดการกับความเสี่ยงได้ดีกว่า

ขั้นตอนที่6-กำหนดแนวทางจัดการความเสี่ยง ประเด็นยุทธศาสตร์:สร้างคุณภาพชีวิตดีและมีความสุข กลยุทธ์:เสริมสร้างภาวะผู้นำ ชื่อโครงการ:สร้างผู้นำรุ่นใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: กรม......... กระทรวง....... ประเภทความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (1-5) อาจเกิดขึ้นในกิจกรรมดำเนินการใด? ผลกระทบ อาจส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จของโครงการในเรื่องใด? ดัชนีความเสี่ยง แนวทางจัดการ 1.ความเสี่ยงด้านแนวทางการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้องกัน (Key Risk Area) 4 ไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคีภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่สามารถเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายความรู้ระหว่างชุมชน 8 ควบคุม-จัดตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ร่วมกันระหว่างผู้แทนภาครัฐ เอกชนและ ปราชญ์ชาวบ้านในระดับอำเภอ 2.ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์ทางการเมือง (Political Risk) ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายอาจขาดความเชื่อมั่นต่อความจริงจังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำปัญหาและความต้องการที่ได้จากการทำประชาพิจัย ไปประกอบการจัดสรรแผนงาน/โครงการ ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่มีส่วนร่วมในการผลักดันแผนแม่บทชุมชนไปสู่การปฏิบัติจริงร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควบคุม-เปิดโอกาสให้ผู้นำชุมชนกลุ่มเป้าหมายและผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกันรวบรวมปัญหาความต้องการของชุมชน 3.ความเสี่ยงด้านการสนองตอบความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Negotiation Risk) ไม่สามารถรองรับการพัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่เนื่องจากอาจดำเนินการประชาสัมพันธ์ได้ไม่ทั่วถึง ส่งผลให้ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ถ่ายโอน-จัดสรรงบประมาณให้สถาบันการศึกษาในพื้นที่ ดำเนินการประชาสัมพันธ์