A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher
ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล สมาชิกที่ร่วมโครงการ 1.นายชานนท์ จังกาจิตต์ รหัสนักศึกษา 493040147-1 2.นายกิติ์จิพงษ์ อิทธิธรรมสกุล รหัสนักศึกษา 493041251-1 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
Agenda ที่มาและความสำคัญของโครงการ ทฤษฎีการทำงานของ LFSR แสดงผลการเข้ารหัสของโปรแกรมแบบ LSFR สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป
ที่มาและความสำคัญของโครงการ ข้อมูลที่ส่งผ่านเครือข่ายต่างๆอาจถูกดักฟัง เปลี่ยนแปลง ปลอมแปลง หรือกระทำการอื่นๆ จึงต้องมีวิธีรักษาความปลอดภัยของข้อมูลด้วยการเข้ารหัสด้วยอัลกอริทึมที่ ดำเนินการผ่านทางซอฟแวร์ในรูปของรีจิสเตอร์เลื่อนย้อนกลับเชิงเส้น (Linear Feedback Shift Register: LFSR) เมื่อได้ออกแบบระบบเข้ารหัสลับแล้วจำเป็นที่จะต้องมีกระบวนการตรวจสอบ ความแกร่งต่อการคุกคามของระบบ โดยวัดในเชิงเวลา (time complexity)
Plaintext ⊕ Key = Ciphertext ทฤษฎีการทำงานของ LFSR การเข้ารหัสลับแบบ Linear Feedback Shift Register Stream Cipher Plaintext ⊕ Key = Ciphertext โดย Keystream สามารถหาได้จากการเวียนเกิดเชิงเส้น (linear recurrence) ระดับ ขั้น m ดังสามการ
ทฤษฎีการทำงานของ LFSR (ต่อ) ตัวอย่างของ a linear feedback shift register สามารถแสดงได้ดังรูป
ทฤษฎีการทำงานของ LFSR (ต่อ)
ทฤษฎีการทำงานของ LFSR (ต่อ)
ทฤษฎีการทำงานของ LFSR (ต่อ) Cryptanalysis ของ Linear Feedback Shift Register Stream Cipher นิยาม 1 : Known plaintext attack หมายถึง ผู้บุกรุกครอบครองส่วนหนึ่งของ string ของ Plaintext x และส่วนหนึ่งของ string ของ ciphertext y ที่สัมพันธ์กัน
ทฤษฎีการทำงานของ LFSR (ต่อ) Cryptanalysis ของ Linear Feedback Shift Register Stream Cipher
ทฤษฎีการทำงานของ LFSR (ต่อ) Cryptanalysis ของ Linear Feedback Shift Register Stream Cipher
ทฤษฎีการทำงานของ LFSR (ต่อ) Cryptanalysis ของ Linear Feedback Shift Register Stream Cipher
แสดงผลการเข้ารหัสของโปรแกรมแบบ LSFR ผลจากการรันโปรแกรมซึ่งป้อนค่า Plaintext และ initial vector
สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป ศึกษาและออกแบบอัลกอริทึมส่วนการเข้ารหัสให้สามารถเปลี่ยนแปลงตาม constant vector ที่เจาะจง (b) พัฒนาอัลกอริทึมส่วนการทำ cryptanalysis เหนือ finite field (i.e. )
Q & A
END