ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ และช่วยในการออกข้อสอบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
COE คณะวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
การพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลกฎหมาย สำหรับนายอำเภอ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ
จัดทำโดย กลุ่ม 2 สมาชิกประกอบด้วย
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
Thesis รุ่น 1.
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติสหกิจศึกษา นำเสนอโดย นางสาวจิตร์ลัดดา พุ่มคำ นางสาวสุนิสา สรรพศรี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล
Management Information Systems
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ด้วยเทคนิค Data mining
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ฐานข้อมูล Data Base.
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้ต่อบทบาทของครูและการจัดการเรียนการสอน
LOGO ศึกษาการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศของบุคลากร ในวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย A study to used information technology of personnel at Nongkhai.
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
File Sharing. ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและ อินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทกับมนุษย์มากขึ้น ทุก ๆ คนล้วนแล้วแต่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีกันทั้งนั้น และ อินเทอร์เน็ตก็กลายเป็นสิ่งที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต.
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย ชรินทร์ญา กล้าแข็ง
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ และช่วยในการออกข้อสอบ Information system for storing the test.

รายชื่อ กลุ่ม 1 ชื่อ-นามสกุล เลขที่ นางสาว นันทิยา ทองเนียม 5414760001 นางสาว นันทิยา ทองเนียม 5414760001 นางสาว กมลสรวง วรรณภิรมย์ 5414760018 นาย อนันต์ ธัญมงคลสวัสดิ์ 5414760026 นาย ภาณุพันธ์ ปึงตระกูล 5414760049 นาย ทัศมะ วิริยะกิจนทีกุล 5414760061

แนวคิด ที่มาและความสำคัญของปัญหา เนื่องจากปัจจุบัน ในการเก็บข้อมูลฐานข้อสอบยังเก็บเป็นรูปแบบ เอกสารที่มีความซ้ำซ้อน ซึ่งยังไม่มีการเก็บข้อมูลในรูปแบบ ฐานข้อมูล ทำให้เป็นการยากที่จะดึงข้อสอบเก่ามาใช้งาน เช่น อาจจะมีการสุ่มนำข้อสอบเก่ามาใช้ในการออกข้อสอบแต่ละครั้ง แต่ ละปี หรือ การระบุระดับความยากง่ายในการออกข้อสอบ ทาง ผู้จัดทำเล็งเห็นว่าการจัดการเก็บข้อมูลข้อสอบในฐานข้อมูลนั้น ค่อนข้างมีความสำคัญ และเป็นประโยชน์ได้ในหลายมิติซึ่งการ จัดการนี้ทำให้ง่ายต่อการจัดการ และง่ายต่อการสืบค้นข้อมูลเก่าๆ รวมถึงสามารถนำมาวิเคราะห์ แนวทางในการออกข้อสอบได้อีก ด้วย

สรุปปัญหา การจัดเก็บข้อสอบยังเป็นรูปแบบไฟล์อยู่ ทำให้ยาก ต่อการค้นข้อสอบเก่ามาทำการแก้ไขหรือ ประยุกต์ใช้งาน การออกข้อสอบยังเป็นการยากที่จะตัดสินใจได้ว่า จะนำข้อสอบเก่ามาออกข้อสอบอย่างไรจึงจะ เหมาะสม การเก็บเอกสารบางครั้งอาจจะซ้ำซ้อน ทำให้ดู เหมือนข้อมูลที่เก็บอยู่นั้นซ้ำซ้อน

แนวทางแก้ไข จัดทำระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ นำระดับความยากในการออกข้อสอบมาช่วยในการตัดสินใจ ใน การออกข้อสอบ นำผลการสอบของนักศึกษามาเก็บเป็นฐานข้อมูล เพื่อช่วยในการ วิเคราะห์ความยากง่ายของข้อสอบ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ มีฐานข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจในการออกข้อสอบ ทำให้มีการปรับปรุงการเรียนการสอนที่ดีขึ้น เพื่อที่จะ สามารถทำให้นักศึกษาสามารถทำข้อสอบได้ ทำการออกข้อสอบมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทำให้ผลการเรียนของนักศึกษาจะดีขึ้น เนื่องจากมีการ ปรับปรุงหลักสูตรหรือเน้นหัวข้อที่มีการทำข้อสอบไม่ได้

วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย เชาวรัตน์ เตมียกุล สาขาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ การวิเคราะห์ข้อสอบ เมธา โยธาฤทธิ์ การพัฒนาโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อสอบอัตนัย สุรัตนา สังข์ หนุน ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง และสุพร รัตนพันธ์

Q & A