ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550
การจัดทำรายงานความก้าวหน้าระดับประเทศ การดำเนินงานตามปฏิญญาว่าด้วยพันธกรณี เรื่องโรคเอดส์ •189 ประเทศ ลงนามปฏิญญาว่าด้วย พันธกรณีเรื่องโรคเอดส์ จาก การประชุม สมัชชาแห่งสหประชาชาติสมัยพิเศษว่า ด้วยเรื่องโรคเอดส์ พ. ศ.2544 •United Nations General Assembly Special Session on HIV/AIDS : UNGASS • รายงานความก้าวหน้าจากประเทศต่างๆ ทุก 2 ปี – พ. ศ. 2547, 2549, 2551, 2553 ( ค. ศ.2004, 2006, 2008, 2010) • กำหนดตัวชี้วัดหลัก
ตัวชี้วัดหลัก ระดับประเทศ ก)พันธกรณีและการ ดำเนินงานระดับประเทศ –Indicator 1 – 2 ( 2 ตัว ) ข)แผนงานของประเทศ –Indicator 3 – 11 ( 9 ตัว ) ค)ความรู้และพฤติกรรม –Indicator (10 ตัว ) ง)ผลกระทบ –Indicator 22 – 25 ( 4 ตัว ) ระดับโลก เงินช่วยเหลือประเทศ รายได้ต่ำและปานกลาง เงินสนับสนุนงานวิจัยและ พัฒนาวัคซีนและ Microbicide บรรษัทข้ามชาติใน ประเทศกำลังพัฒนา มี นโยบายและแผนงาน เอดส์ในสถานประกอบ กิจการ องค์กรระหว่างประเทศมี นโยบายและแผนงาน เอดส์ในสถานประกอบ กิจการ
วัตถุประสงค์การจัดทำรายงานฯ ปี เพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้า ระดับประเทศ ปี 2551 ตามปฏิญญาว่า ด้วยพันธกรณี เรื่องโรคเอดส์ จากการ ประชุมสมัชชาแห่งสหประชาชาติว่าด้วย เรื่องโรคเอดส์ พ. ศ เพื่อพัฒนาคณะทำงานที่ประกอบด้วยภาค ส่วนต่างๆทั้งภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน ประชาสังคม นักวิชาการ องค์กรระหว่าง ประเทศ เพื่อติดตามความก้าวหน้าของ ประเทศโดยต่อเนื่อง
กระบวนการจัดทำรายงาน 1. คณะเลขาฯ • ศึกษาวิธีการและ แหล่งข้อมูล • รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น • จัดทำฐานข้อมูลสำหรับ รายงาน / บันทึกข้อมูลใน โปรแกรม CRIS 2. คณะทำงานแต่ละกลุ่ม ตัวชี้วัด • ตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูลสำหรับ การจัดทำรายงาน 3. คณะทำงานจัดทำ รายงานฯ • วางกรอบการเขียน รายงาน • ร่างรายงาน • จัดทำรายงานฉบับ สมบูรณ์ ประชุมเสวนาในวง กว้าง 4. คณะอนุกรรมการ ประสานแผน กำกับ ติดตาม ประเมินผล ภายใต้ คณะกรรมการ แห่งชาติว่าด้วยการ ป้องกันและแก้ไขปัญหา เอดส์ • พิจารณาให้ความเห็นชอบ
คณะทำงานแต่ละกลุ่มตัวชี้วัด 1.National AIDS Spending 2.National Composite Policy Index 3.Blood Safety (integrated with some indicators of health sector responses) 4.PMTCT and OVC 5.Care for PLHA, TB/HIV 6.Prevention among youth and reproductive age group 7.Prevention among sex workers 8.Prevention among MSM 9.Prevention among IDU 10.Prevention among migrants
การประชุมคณะทำงานแต่ละ กลุ่มตัวชี้วัด เนื้อหาของรายงาน ความก้าวหน้าฯ ปัญหาและการแก้ไข ข้อมูลตามตัวชี้วัด ทั้ง UNGASS และ WHO ข้อมูลตัวชี้วัดอื่นๆ ที่ สำคัญ ข้อมูลการศึกษา การประเมินผล ( เชิงปริมาณ และ คุณภาพ ) แหล่งและวิธีการ รวบรวมข้อมูล ความน่าเชื่อถือ การพัฒนาแหล่งและ วิธีการ และความถี่ของ การรวบรวมข้อมูล ที่มีอยู่เดิม ต้องพัฒนาใหม่ เป็นระบบบริการปกติ การสำรวจ อื่นๆ • ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการจัดทำรายงาน นโยบาย และ แผนงาน ที่เกี่ยวข้อง
การประชุมเสวนารับฟัง ความคิดเห็น 1. ความถูกต้องของข้อมูลและการแปลความ 2. ความก้าวหน้า จุดแข็ง ปัญหาอุปสรรคและ การแก้ปัญหา 3. โอกาสของการพัฒนาแหล่งและวิธี รวบรวมข้อมูลเพื่อติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินงาน
แบบฟอร์มรายงาน (1) ระยะเวลารายงาน : ม. ค.2549 – ธ. ค สถานการณ์โดยสรุป ก ) การเข้ามาร่วมเขียนรายงานของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ข ) สถานการณ์การแพร่ระบาด ค ) นโยบายและแผนงานที่ตอบสนองปัญหา ง ) ตารางภาพรวม ข้อมูลตัวชี้วัด UNGASS 2. ภาพรวมของสถานการณ์แพร่ระบาดของเอดส์ 3. การตอบสนองระดับประเทศต่อการแพร่ระบาด ของโรคเอดส์ 4. ตัวอย่างของการปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practices)
แบบฟอร์มรายงาน (2) ระยะเวลารายงาน : ม. ค.2549 – ธ. ค สิ่งท้าทายที่สำคัญและปฏิบัติการแก้ไข – ความก้าวหน้าในการจัดการสิ่งท้าทายสำคัญ ในรายงาน UNGASS ปี พ. ศ ( ถ้ามี ) – ความท้าทายที่มีในช่วงของการรายงาน ( พ. ศ ) – ปฏิบัติการแก้ไขที่เป็นรูปธรรมที่ได้วางแผนไว้ เพื่อให้แน่ใจว่าจะบรรลุเป้าหมายตาม UNGASS 6. การสนับสนุนจากภาคีการพัฒนาใน ประเทศ 7. สภาวะแวดล้อมของการติดตามและ ประเมินผล
ประเด็นหารือ 1. แผนการจัดทำรายงาน • การประชุมคณะทำงานแต่ละกลุ่ม ตัวชี้วัด • การประชุมเสวนารับฟังความคิดเห็น 2. รายงานภาคบรรยาย – ภาพรวมของสถานการณ์แพร่ระบาด ของเอดส์ – ตัวอย่างของการปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practices) – การสนับสนุนจากภาคีการพัฒนาใน ประเทศ