การพัฒนางานประจำเป็นงานวิจัย Routine to Research (R2R) 16 มิถุนายน 2554 วลัยลักษณ์ เมธาภัทร, สำนักยาและวัตถุเสพติด, กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การพัฒนางานประจำเป็นงานวิจัย การทำวิจัยในงานประจำ กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ของผู้ปฏิบัติงานประจำในการแก้ไขปัญหาและยกระดับการพัฒนางานที่รับผิดชอบดำเนินการอยู่ตามปกติ โดยจะมีผลลัพธ์เป็นการพัฒนาตนเองและเพื่อนผู้ร่วมงาน อันจะส่งผลกระทบในการบรรลุเป้าประสงค์สูงสุดขององค์กรนั้น
R2R หมายถึง การพัฒนางานที่ทำอยู่เป็นประจำสู่งานวิจัย และเป็นกระบวนการแสวงหาความ รู้ อย่างเป็นระบบวิธีของการปฏิบัติงานในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนางาน โดยมีผลรับเป็นการพัฒนา อรพรรณ โตสิงห์
What is “Routine to Research”? 1. ต้องเริ่มต้นจากปัญหา/คำถามวิจัยที่ได้จากหน้างาน หรืองาน ประจำที่ตนเองทำและรับผิดชอบดำเนินการอยู่ 2. ต้องเป็นการวิจัยจริง ๆ ที่มีความน่าเชื่อถือ 3. ต้องมีเป้าหมายชัดเจนว่าจะแก้ไขปัญหา/พัฒนา/ต่อยอด/ ขยายผลงานที่ทำอยู่อย่างไร 4. ไม่ควรจะเน้นที่งบประมาณในการดำเนินการเป็นการเฉพาะ มากนัก ควรใช้โอกาสและงบประมาณที่ใช้ทำงานประจำอยู่ 5. ต้องเริ่มต้นที่ใจอยากทำ มีทัศนคติที่ดีต่อการทำวิจัย ไม่ควร จะใช้วิธีการบังคับให้ทำ 6. ควรจะเห็นวิธีการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและทีมงานใน กระบวนการทำ R2R
What is “Routine to Research”? 7. ต้องไม่รู้สึกว่าเป็นภาระงานที่เพิ่มขึ้น 8. ต้องพิจารณาที่ “งานประจำ” เป็นหลัก เพราะแต่ละคนที่ ทำ R2R ทำงานต่างตำแหน่ง บทบาท หน้าที่ หรือ ต่าง บริบทกัน การจะนำแต่ตัวงานวิจัยมาพิจารณาจะทำไม่ได้ว่า อะไรเป็นวิจัยในงานประจำหรือเป็นวิจัยทั่ว ๆ ไป 9. การทำวิจัยในงานประจำน่าจะเป็นการคิดแบบ initiation, creation หรือ innovation 10. …
What is “Routine to Research”? เป็น R2R หรือไม่ ให้ดูที่โจทย์วิจัย ผู้ทำวิจัย ผลลัพธ์ของการวิจัยและการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ โจทย์วิจัย โจทย์วิจัยของงาน R2R ต้องมาจากงานประจำ เป็นการแก้ปัญหาหรือพัฒนางานประจำ ผู้ทำวิจัย ต้องเป็นผู้ทำงานประจำนั้นเอง เป็นผู้แสดงบทบาทหลักของการวิจัย
What is “Routine to Research”? ผลลัพธ์ของการวิจัยต้องวัดที่ผลต่อตัวผู้ป่วย หรือบริการที่มีผลต่อผู้ป่วยโดยตรง ไม่ใช่วัดที่ตัวชี้วัดทุติยภูมิเท่านั้น เช่น ระดับสารต่าง ๆ ในร่างกาย หรือผลการตรวจพิเศษต่าง ๆ การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ ผลการวิจัยต้องวนกลับไปมีผลเปลี่ยนแปลงการให้บริการผู้ป่วยโดยตรงหรือต่อการจัดบริการผู้ป่วย จึงจะถือว่าเป็น R2R
ประโยชน์ของ R2R แก้ไขปัญหาการปฏิบัติงาน เป็นต้นแบบสู่งานวิจัย พัฒนาองค์กร ประเมินบุคคล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน
Routine to Research (R2R) การประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 3 คุณภาพน้ำเกลือที่โรงพยาบาลผลิตเองในเขต 8 และ 9 พุทธชินราชเวชสาร ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 การละลายของยาพาราเซตามอลชนิดเม็ด การประชุมวิชาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ประจำปี 2538 คุณภาพของยาไอบูโพรเฟนชนิดเม็ดและชนิดน้ำเชื่อมที่จำหน่ายในเขตภาคเหนือตอนล่าง
Routine to Research (R2R) การประชุมวิชาการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2538 คุณภาพยาแผนโบราณ การประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 4 คุณภาพของยาเตรียมในโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือตอนล่าง การประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 5 พุทธชินราชเวชสาร ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 การปนเปื้อนของเครื่องมือแพทย์ วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เล่มที่ 41 ฉบับที่ 1 สีในแคปซูลยา
Routine to Research (R2R) การประชุมวิชาการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจำปี 2550 การประเมินประสิทธิภาพชุดตรวจสอบเมทแอมเฟตามีนเบื้องต้นชนิดรวดเร็วที่จำหน่ายในประเทศไทย การประชุมวิชาการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาประจำปี 2551 วารสารอาหารและยาปีที่ 16 ฉบับที่ 2 การตรวจสอบเดกซาเมทาโซนและเพรดนิโซโลนในผลิตภัณฑ์สมุนไพรด้วยเทคนิคเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอบเบนแอสเสย์
Routine to Research (R2R) การประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2552 วารสารวิชาการสาธารณสุขปีที่ 19 ฉบับที่ 1 14th International Biotechnology Symposium and Exhibition Biotechnology for the Sustainability of Human Society (IBS2010), Palacongressi, Rimini, Italy การพัฒนาชุดทดสอบอิมมูโนโครมาโตกราฟีของเดกซาเมทาโซนและเพรดนิโซโลนในผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ขั้นตอนการทำR2R การคิด/เขียน โครงร่าง ลงมือทำ คิด วิเคราะห์ เขียน 1.ระบุหัวข้อหรือปัญหาการวิจัยและทบทวนวรรณกรรม 2.กำหนดตัวแปรของการวิจัย และวิธีวัดตัวแปร 3.กำหนดระเบียบวิธีวิจัย 4.กำหนดประชากรและ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย 5.ดำเนินการเก็บข้อมูล 6.วิเคราะห์ข้อมูล 7.เขียนรายงานการวิจัย 8.เผยแพร่งานวิจัย การคิด/เขียน โครงร่าง ลงมือทำ คิด วิเคราะห์ เขียน
ขอบคุณค่ะ