บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปริศนาภูมิศาสตร์ไทย ชุดที่1 โดยครูแป้น ส. ภ. ตรัง spa. ac
Advertisements

พายุหมุนเขตร้อน TROPICAL STORMS.
ไฟป่า(Forest Fire).
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
Global Warming.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
น้ำและมหาสมุทร.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Demonstration School University of Phayao
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
พลังงานลม.
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ซ่อมเสียง.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
โลก ร้อน. จำนวนพายุ เฮ อริเคน ที่มีความ รุนแรงมากระดับ 4 และ 5 เพิ่มขึ้น สองเท่า ใน สามสิบปีที่ผ่าน มา.
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
ดาวศุกร์ (Venus).
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
ภาวะโลกร้อน.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
10.11 ภัยแล้ง (Drought) เป็นสภาวะการขาดแคลนน้ำซึ่งเกิดขึ้นได้หลายกรณี เช่น เป็นช่วงเวลาที่ขาดฝนเป็นระยะเวลานาน ความแห้งแล้งอาจเกิดขึ้นได้ในบางช่วงที่มีความชื้นไม่เพียงพอที่จะให้แก่พืชได้
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน.
โลกและสัณฐานของโลก.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ความดันอากาศ ลม ความชื้น เมฆและฝน (องค์ประกอบของ ลมฟ้า อากาศ) จะส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มรสุม

การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า พายุฟ้าคะนอง การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า + - - เมฆคิวมูโลนิมบัส + ฟ้าแลบ - + ฟ้าผ่า + พื้นโลก เรื่องจริงผ่านจอ + +

พายุหมุนเขตร้อน

ในซีกโลกเหนือพายุจะพัดเวียนทวนเข็มนาฬิกา ในซีกโลกใต้พายุจะพัดเวียนตามเข็มนาฬิกา

พายุหมุนเขตร้อนมีความรุนแรงหรืออัตราเร็ว ลมมากที่สุดที่บริเวณ “ใกล้ศูนย์กลางพายุ” แต่ตรงบริเวณศูนย์กลางพายุที่ เรียกว่า “ตาพายุ” จะมีลมอ่อน การแบ่ง ประเภทพายุหมุนเขตร้อนตามอัตราเร็วลม

อัตราเร็วลมรอบจุดศูนย์กลาง กิโลเมตร/ ชั่วโมง พายุ ต่ำกว่า 63 ดีเปรสชั่น ตั้งแต่ 63-117 โซนร้อน มากกว่า 117 ไต้ฝุ่น

อัตราเร็วลมมากกว่า 117 กิโลเมตร/ชั่วโมง ไต้ฝุ่น เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก เกิดในมหาสมุทรอินเดีย เฮอริเคน ไซโคลน

มรสุม ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิอากาศ เหนือทวีปกับมหาสมุทร เรียกว่า มรสุม

มรสุมในฤดูหนาวและฤดูร้อน

อุณหภูมิเหนือทวีปต่ำความกดอากาศสูง อุณหภูมิเหนือมหาสมุทรสูงความกดอากาศต่ำ

อุณหภูมิเหนือทวีปสูงความกดอากาศต่ำ อุณหภูมิเหนือมหาสมุทรต่ำความกดอากาศสูง

การพยากรณ์อากาศ เป็นการคาดคะเนสภาพลมฟ้าอากาศที่ เกิดขึ้นล่วงหน้าจากการเฝ้าสังเกต บันทึก วิเคราะห์ข้อมูลแล้วนำมาจัดทำแผนที่อากาศ เพื่อป้องกันภัยที่อาจเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศในแต่ละวัน

แผนที่อากาศ

ตัวเลขบนแผนที่ แสดงถึงค่าความดันอากาศ (หน่วยเป็นเฮคโตปาสคาล) เส้นที่ลากบนแผนที่คือ เส้นความดันอากาศเท่า จะลากผ่านจุดที่มีความดันอากาศเท่ากัน อักษร H คือ ศูนย์กลางของบริเวณ ความดันอากาศสูง อักษร L คือศูนย์กลางบริเวณ ความดันอากาศต่ำ

คำถาม ความดันอากาศที่ผ่านประเทศไทยมีค่าเท่าใด ตอบ มีเส้นความดันอากาศลากผ่าน 3 เส้นคือ 1004,1006,1008 เฮคโตปาสคาล

เอลนีโญ-ลานีญา เป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้สภาพลมฟ้าอากาศ ของโลกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น เคย แห้งแล้งเปลี่ยนเป็นฝนตกมากขั้น หรือ อากาศหนาวมากขึ้นกว่าเดิม

น้ำระเหยน้อย ทำให้เมฆก่อตัวได้ยาก ทำให้ฝนตกน้อย แปซิฟิก ต.อ อุณหภูมิ(T) ต่ำ สภาวะปกติ น้ำระเหยน้อย ทำให้เมฆก่อตัวได้ยาก ทำให้ฝนตกน้อย น้ำระเหยมาก ทำให้เมฆก่อตัวได้มาก ทำให้ฝนตกมาก แปซิฟิก ต.ต อุณหภูมิ(T) สูง

สภาวะลานีญา แปซิฟิก ต.อ T ต่ำกว่าปกติ แปซิฟิก ต.ต T สูงกว่าปกติ

แปซิฟิก ต.อ T สูง แปซิฟิก ต.ต T ต่ำ สภาวะเอลนีโญ แปซิฟิก ต.อ T สูง แปซิฟิก ต.ต T ต่ำ

 = ฝนชุก แห้งแล้ง ลานีญา แห้งแล้ง ฝนชุก ปกติ ปกติ แห้งแล้ง ฝนชุก  เอลนีโญ ปกติ ปกติ ฝนมากกว่าปกติ แล้งมากกว่าปกติ =

เอลนีโญ ฝนมาก ฝนจะน้อยลง (ตรงข้าม ) แห้งแล้งกลับมีฝน ลานีญา ฝนมาก ยิ่งตกมากขึ้น (มากขึ้น) แห้งแล้ง ยิ่งแห้งแล้งขึ้น

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศของโลก การเกิดสินามิในประเทศไทย ปรากฏการเรือนกระจก

มลพิษทางอากาศ แบ่งเป็น 2 ประเภท ตามแหล่งกำเนิด แบ่งเป็น 2 ประเภท ตามแหล่งกำเนิด 1.แหล่งกำเนิดมลพิษจากธรรมชาติ จากโรงงานอุตสาหกรรม ,ไฟป่า 2.จากมนุษย์ จากควันบุหรี่ , รถยนต์

มลพิษมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม -อันตรายต่อปอด -ทำให้อ่อนเพลีย -ปวดศีรษะ -ระคายคอ แสบตา -ทำให้เป็นมะเร็ง -ฝนกรดทำให้เป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์

ฝนกรด 1 7 14 กรด กลาง เบส 1 (5-6) 7 14 ฝนกรด