ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ENVIRONMENTAL SCIENCE
กลไกการวิวัฒนาการ.
Quick Index. การใช้หนังสือคู่มือดูนกภาคสนาม A Field Guide to the Birds Of Thailand โดย Robson (2002)
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
การศึกษาชีววิทยา.
ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.
แบบของการเพิ่มประชากร
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
ปัญหาจากสภาพแวดล้อม 1. ประชากรล้น 2. ภาวะมลพิษ - ของเสียจากธรรมชาติ
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Habit of Plant……....
BIO-ECOLOGY 2.
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จัดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การปลูกพืชกลับหัว.
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
หมีขั้วโลก.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
การเจริญเติบโตของพืช
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ในการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ เพื่อช่วยในการดำรงชีวิต  ซึ่งสิ่งแวดล้อมจัดเป็นปัจจัยที่ไม่มีชีวิตสิ่งแวดล้อมที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต  ได้แก่ แสง    อุณหภูมิ น้ำ  ดินและแร่ธาตุในดิน อากาศ

ความสัมพันธ์ในการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ชนิดเดียวกัน (intraspecific relationship) ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ในลักษณะต่างๆ มีดังนี้ ความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน ความสัมพันธ์แบบอิงอาศัย  ความสัมพันธ์แบบพึ่งพากัน ความสัมพันธ์ระหว่างเหยื่อกับผู้ล่า • ความสัมพันธ์แบบปรสิต

ความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน (mutualism)  การได้รับประโยชน์ร่วมกัน เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งสองชนิด เช่น • แมลงกับดอกไม้ แมลงดูดน้ำหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร และดอกไม้ก็มีแมลงช่วยผสมเกสร  นกเอี้ยงกับควาย นกกินแมลงบนหลังควาย และควายก็ไม่ถูกแมลงรบกวน

ความสัมพันธ์แบบอิงอาศัย (commensalisms) เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรที่ ฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ จากการอาศัยอยู่ร่วมกันแต่อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์แต่อย่างใด เรียกว่าความสัมพันธ์แบบ “ภาวะอิงอาศัย” เช่น ต้นไม้ในแถบป่าดงดิบจะเป็นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์อื่น ๆ ลำต้นและกิ่งจะเป็นสถานที่ที่ให้พืชอื่นเกาะอาศัยอยู่ เช่น กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่ /พลูด่างกับต้นไม้ ปลาฉลามกับเหาฉลาม

ความสัมพันธ์แบบพึ่งพากัน (mutualism) ปูเสฉวนและดอกไม้ทะเล มดอาศัยบนต้นอะเคเซีย

ความสัมพันธ์ระหว่างเหยื่อกับผู้ล่า (Predation) ภาวะล่าเหยื่อ ( Predation : + ,) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตโดยฝ่ายหนึ่งจับอีกฝ่ายหนึ่งเป็นอาหาร เรียกว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายที่ถูกจับเป็นอาหารหรือถูกล่า เรียกว่า เหยื่อ ( prey) เช่น -กบกับแมลง :กบเป็นผู้ล่า แมลงเป็นผู้ถูกล่า

ความสัมพันธ์แบบปรสิต (parasitism) สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งได้รับอันตรายโดยปกติ สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กกว่าจะได้รับสารอาหารจากโฮสต์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษแบบหนึ่งของการล่าเหยื่อ พยาธิตัวตืด โพรโทซัวก่อโรคไข้มาเลเรีย เป็นตัวอย่างของปรสิตภายใน ส่วนปรสิตภายนอก ได้แก่ยุงดูดเลือดของสัตว์เลี้ยงลูก พยาธิตัวตืด กาฝากมะม่วง เหากับคน