การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
Graphic Design for Video
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
เว็บไซต์ สาขา สารสนเทศศาสตร์
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
สื่อการสอนกลุ่มสาระศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ เรื่อง พื้นฐานงานศิลป์
นายชูเกียรติ เมืองกรุง ครู โรงเรียนเทศบาล ๓ (หล่ายอิงราษฏร์บำรุง)
สื่อประกอบการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
องค์ประกอบ Graphic.
การสร้างงานกราฟิก.
ระบบอนุภาค.
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
บทที่ 5 การแทรกรูปภาพ และอักษรประดิษฐ์
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 2 สุนทรียภาพในงานวิจิตรศิลป์.
สุนทรียศิลป์ (Aesthetics)
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
CONTRAST- EMPHASIS.
บทนำ บทที่ 1.
โปรแกรม DeskTopAuthor
การออกแบบสื่อสำหรับการนำเสนอ
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การจัดองค์ประกอบภาพ.
Mind Mapping.
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
Background / Story Board / Character
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
เทคนิควิธี การซ้อนภาพให้ดูเนียน ด้วย โปรแกรม PhotoShop
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการถ่ายภาพ.
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ขอนำเสนอ แผนภูมิกราฟ.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายหลักการวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์ได้ 2. วาดเส้นองค์ประกอบศิลป์ตามความคิดและจินตนาการได้อย่างอิสระ 3. แสดงความรู้สึกที่มีต่อผลงานการวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์ได้ จุดประสงค์การเรียนรู้

การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์ หมายถึง การวาดเส้นที่นำหลักการจัดภาพหรือหลักองค์ประกอบศิลป์มาใช้เพื่อให้เกิดคุณค่าทางความงาม ส่วนหลักการจัดศิลป์ (Composition) หมายถึง การนำส่วนประกอบของศิลป์ ได้แก่ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง ขนาดสัดส่วน แสงเงา สี บริเวณว่าง พื้นผิว มาจัดภาพหรือองค์ประกอบรวมเข้าด้วยกัน และให้ประสานสัมพันธ์กันเพื่อให้เกิดคุณค่าทางความงาม หลักการจัดภาพในเบื้องต้น แบ่งออกเป็นเป็น 3 ประการ ได้แก่ เอกภาพ ดุลยภาพ และจุดเด่น ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

1. เอกภาพ (Unity) หมายถึง กานำส่วนประกอบของทัศนศิลป์มาจัดให้มีความประสานกลมกลืน มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันเป็นกลุ่มก้อนไม่กระจัดกระจายและแสดงออกให้เห็นได้ถึงความงามและความกลมกลืน 2. ดุลยภาพ (Balance) หรือ ความสมดุล หมายถึง การนำทัศนธาตุต่างๆ ทางศิลปะ เข่น จุด เส้น รูปร่าง ขนาดสัดส่วน แสงเงา สี บริเวณว่าง พื้นผิว มาจัดองค์ประกอบศิลป์ให้มีความพอดีเหมาะสม เกิดน้ำหนักการจัดวางซ้าย ขวา ทั้งสองข้างเท่ากัน

ดุลยภาพ หรือความสมดุล แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. ความสมดุลทั้งสองข้างเท่ากัน (Symmetrical Balance) คือ การนำทัศนธาตุทางศิลปะมาจัดองค์ประกอบศิลป์ให้น้ำหนักทั้งสองข้างเท่ากันหรือเหมือนกัน ซึ่งส่วนมากจะปรากฏในผลงานจิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย และงานศิลปะสมัยใหม่ที่ต้องการให้ดูแล้วรู้สึกสงบนิ่ง มั่นคง และเลื่อมใสศรัทธา 2. ความสมดุลแบบทั้งสองข้างไม่เท่ากัน (Asymmetrical Balance) คือ การนำทัศนศิลป์ทางศิลปะมาจัดองค์ประกอบศิลป์ จัดวางที่ไม่เท่ากันหรือไม่เหมือนกันทั้งสองข้าง แต่มองแล้วให้ความรู้สึกว่าเท่ากันน้ำหนักโดยส่วนรวม ความสมดุลในลักษณะนี้นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางเพราะสามารถให้อารมณ์ ความรู้สึกเคลื่อนไหว และให้คุณค่าทางความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นอิสระแปลกใหม่

จุดเด่น (Dominance) จุดเด่นหรือจุดสนใจ หมายถึง ส่วนสำคัญที่ปรากฏชัดสะดุดตาในผลงานศิลปะจุดเด่นเกิดจากการเน้นที่ดี ตำแหน่งของจุดเด่น นิยมจัดวางไว้ในระยะหน้า (Foreground) หรือระยะกลาง (Middle ground) แต่ไม่ควรวางไว้ตรงกลางพอดี เพราะจะทำให้ภาพเกิดความรู้สึกนิ่ง ไม่เกิดการเคลื่อนไหวจุดเด่นที่ดีควรมีเพียงจุดเดียว และมีพื้นที่ประมาณ 20-30% ของพื้นที่ทั้งหมด จุดเด่น จบแล้วจ้า......