สรุปการอบรมหลักสูตรการวิเคราะห์ปัญหาการขนส่งสาธารณะในเมือง โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ด้านวิชาการขนส่ง ประจำปีงบประมาณ 2554 ระหว่างวันที่ 25 – 29 กรกฎาคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
Google Maps.
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
ระบบติดตามความก้าวหน้าโครงการ สำหรับกิจการติดตั้งระบบไฟฟ้า
โครงการอ่านและบันทึกหนังสือเสียง ให้แก่ผู้พิการทางสายตา
Management Information Systems
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
Intelligent bus system with rfid
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับค่าโดยสารรถเมล์ ขสมก.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดแบบคำเตือนและแบบข้อความที่ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่งต้องปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขนส่ง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
2. การวิเคราะห์ปัญหาที่พบ และสิ่งที่คาดหวัง และ ข้อเสนอแนะ จากระบบสนับสนุนการขับเคลื่อนงาน กล่องพื้นฐาน 1. การพัฒนาบุคลากร ปัญหาสิ่งที่คาดหวังข้อเสนอแนะ.
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การรายงานกิจกรรมการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
หลักการเขียนโครงการ.
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
กฎกระทรวง ว่าด้วยความปลอดภัยในการขนส่ง พ. ศ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
รายงานผลการวัด และประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถาบัน กศน. ภาคเหนือ อ. เมือง จ.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการอบรมหลักสูตรการวิเคราะห์ปัญหาการขนส่งสาธารณะในเมือง โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ด้านวิชาการขนส่ง ประจำปีงบประมาณ 2554 ระหว่างวันที่ 25 – 29 กรกฎาคม 2554

เนื้อหาวิชาที่อบรม  1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการขนส่งสาธารณะ อาทิเช่น การขนส่งสาธารณะ (PublicTransportation) การให้บริการแบบประจำทาง, การดำเนินการขนส่ง สาธารณะ เป็นต้น  2. ข้อมูลทั่วไปที่ใช้ในการวางแผนการขนส่งสาธารณะ อาทิเช่น ข้อมูลการเดินรถ , ลักษณะยานพาหนะประเภทต่างๆ, รูปแบบเส้นทางการให้บริการ, ลักษณะของตารางการเดินรถ เป็นต้น 3. การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในระบบงานขนส่งสาธารณะ อาทิเช่น การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเส้นทางการเดินรถโดยใช้ โปรแกรม GIS (ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์) และโปรแกรม Google map, การวิเคราะห์ข้อมูลสำรวจและประมวลผลโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

เนื้อหาวิชาที่อบรม (ต่อ) 4. ข้อมูลด้านการขนส่งสาธารณะและปัญหาการขนส่งสาธารณะของจังหวัดที่ใช้เป็นกรณีศึกษา ได้แก่ การศึกษาและวิเคราะห์การขนส่งสาธารณะของจังหวัดที่ ใช้เป็นกรณีศึกษา, การวิเคราะห์และสำรวจรวบรวมข้อมูล จำนวนรถโดยสารที่เหมาะสมในแต่ละเส้นทางของจังหวัดที่ใช้ เป็นกรณีศึกษา 5. ข้อมูลในการสำรวจภาคสนาม อาทิเช่น ประเภทของข้อมูลสำหรับการวางแผนเดินรถโดยสาร, การวางแผนและจัดระบบการสำรวจข้อมูล, การนับจำนวน ผู้โดยสารบนรถ เป็นต้น 6. การวิเคราะห์ปัญหาและสรุปผลการสำรวจข้อมูลภาคสนามเพื่อประกอบการวางแผนการเดินรถโดยสารสาธารณะ อาทิเช่น การสำรวจจำนวนผู้โดยสารขึ้น – ลง รถประจำทาง, การสำรวจจำนวนผู้โดยสารขึ้น – ลงประจำทาง บริเวณป้าย, การสำรวจความเร็วและความล่าช้าของรถประจำทาง เป็นต้น

เนื้อหาวิชาที่อบรม (ต่อ) 7. หลักการจัดระบบและเส้นทางรถโดยสาร อาทิเช่น หลักการจัดระบบรถโดยสาร, การวางแผนจัดเส้นทาง ระบบโดยสาร เป็นต้น 8. การประเมินคุณภาพและแนวทางการให้บริการรถโดยสารสาธารณะ อาทิเช่น นิยามของคุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของ ผู้ให้บริการ, แนวทางการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ, ประโยชน์ของการจัดคุณภาพการให้บริการ เป็นต้น 9. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการและการสำรวจข้อมูลภาคสนามในมุมมองของผู้ใช้บริการ อาทิเช่น การสำรวจข้อมูลภาคสนามของผู้ใช้บริการที่มีความพึง พอใจต่อการให้บริการรถโดยสารสาธารณะในจังหวัดที่ใช้เป็น กรณีศึกษา, การนำเสนอข้อมูลจากการสำรวจความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการฯ 

สรุปผลการอบรม ในการอบรมครั้งนี้ มีการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ในการอบรมครั้งนี้ มีการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยทางด้านทฤษฎีมีการให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการ ขนส่งสาธารณะในเมือง ที่เป็นรูปแบบการขนส่งที่ผู้โดยสาร สามารถใช้ร่วมกันได้โดยทั่วไป มีการให้บริการเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ - แบบประจำทาง (Fixed –route) ลักษณะรถที่ให้บริการเช่น รถสองแถว, รถโดยสารขนาดเล็ก (มินิบัส), รถโดยสารขนาดใหญ่, รถราง, รถไฟฟ้า เป็นต้น - แบบไม่ประจำทาง (For – hire) เช่นรถจักรยานยนต์ รับจ้าง, รถแท็กซี่ เป็นต้น โดยการให้บริการแบบประจำทางจะมีการกำหนดเส้นทางที่ แน่นอน, มีกำหนดการให้บริการที่แน่นอน มีตารางการเดินรถ และอัตราค่าโดยสารที่แน่นอน นอกจากนี้ยังมีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำตาราง การเดินรถที่เหมาะสม

สรุปผลการอบรม (ต่อ) และในการจัดการวางแผนการเดินรถโดยสารประจำทาง ให้มีประสิทธิภาพ มีความจำเป็นที่จะต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับการเดิน รถและการใช้บริการของผู้โดยสารที่ละเอียดและถูกต้อง อาทิเช่น ข้อมูลเกี่ยวกับรถ, เส้นทางการเดินรถ, ตารางการเดินรถ, ข้อมูล เกี่ยวกับการใช้บริการของผู้โดยสาร เป็นต้น ดังนั้นการอบรมใน ครั้งนี้จึงมีการอบรมภาคปฏิบัติ(ภาคสนาม) ได้มีการออกสำรวจ รวบรวมข้อมูลการขนส่งสาธารณะของจังหวัดสุพรรณบุรี ที่ใช้เป็นกรณีศึกษา มีการสำรวจจำนวนผู้โดยสารขึ้น-ลงรถประจำ ทาง,สำรวจจำนวนผู้โดยสารขึ้น – ลงรถประจำทางบริเวณป้าย และ สำรวจความเร็วและความล่าช้าของรถประจำทางตามแบบสำรวจที่ กำหนดไว้ (รายละเอียดปรากฏตามเอกสารประกอบการอบรมที่แนบ จำนวน 3 เล่ม)

แบบสำรวจจำนวนผู้โดยสาร ขึ้น-ลงรถประจำทาง แ

แบบสำรวจจำนวนผู้โดยสาร ขึ้น-ลงรถประจำทางบริเวณป้าย

แบบสำรวจความเร็วและ ความล่าช้าของรถประจำทาง