กฎหมายอาญาภาคทั่วไป ผศ. สุรวุธ กิจกุศล
หนังสืออ่านประกอบ คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค ๑ ดร.เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค ๑ ดร.เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค ๑ ศ.จิตติ ติงศภัทิย์ คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคทั่วไป ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย กฎหมายอาญา : หลักและปัญหา ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ์ หลักกฎหมายอาญา รศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
กฎหมายอาญา รวบรวมหมายเหตุท้ายคำพิพากษาฎีกาของ ศ.ดร. หยุด แสงอุทัย รวมหมายเหตุท้ายคำพิพากษาศาลฎีกา : กฎหมายอาญาของศาสตราจารย์ จิตติ ติงศภัทิย์ (ดร. เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ และดร. ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ ผู้รวบรวม) ประมวลกฎหมายอาญาฉบับอ้างอิง ดร. ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ
หัวข้อการบรรยาย ลักษณะของกฎหมายอาญา เวลาที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ ความรับผิดทางอาญา องค์ประกอบภายนอก : ผู้กระทำ การกระทำ วัตถุแห่งการกระทำ องค์ประกอบภายใน : เจตนาตามความเป็นจริง เจตนาตามกฎหมาย มูลเหตูจูงใจ(เจตนาพิเศษ) ประมาท
ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำกับผล : ทฤษฎีเงื่อนไข ทฤษฎีเหตุที่เหมาะสม การพยายามกระทำความผิด เหตุยกเว้นความผิด เหตุยกเว้นโทษ เหตุลดโทษ ผู้เกี่ยวข้องกระทำความผิดตั้งแต่สองคนขึ้นไป : ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน การกระทำความผิดหลายบท หลายกระทง
โทษ : ประเภทของโทษ การเพิ่มโทษและลดโทษ การรอการลงอาญา วิธีการเพื่อความปลอดภัย อายุความฟ้องคดี
การประเมินผล สอบไล่ปลายภาค ๑๐๐ คะแนน เวลาสอบ ๓ ชั่วโมง สอบไล่ปลายภาค ๑๐๐ คะแนน เวลาสอบ ๓ ชั่วโมง ข้อสอบอัตนัย ๔ ถึง ๕ ข้อ ตัดเกรดตามเกณฑ์คะแนน
ความผิด (crime) ห้ามกระทำ เช่น ฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา ทำร้ายร่างกายผู้อื่น ลักทรัพย์ ข่มขืนกระทำชำเรา เป็นต้น ต้องกระทำ เช่น ม. ๓๖๗, ๓๖๘, ๓๗๔ เป็นต้น
โทษ (punishment) ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์