การใช้ E (Electronic) ในภาครัฐ บทที่ 9 การใช้ E (Electronic) ในภาครัฐ
E-Government คือ การใช้ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ICT ( Information and Communication Technology ) เพื่อส่งเสริมให้รัฐบาลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นรวมถึงลดความยุ่งยากในการที่ประชาชนและธุรกิจจะเข้าถึงการบริการของรัฐและเข้าถึงสารสนเทศได้กว้างขวางขึ้น
แนวทางของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 1.สร้างบริการตามความต้องการของประชาชน 2.ทำให้รัฐและการบริการของรัฐเข้าถึงได้มากขึ้น 3.เกิดประโยชน์แก่สังคมโดยทั่วกัน 4.มีการใช้สารสนเทศที่ดีกว่าเดิม
ประเด็นการทำงานหลักของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ประชาชน คือ ลูกค้าสำคัญ ข้อมูล โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ วิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์แห่งชาติ
E-Custom เป็นระบบที่ศุลกากรพัฒนาขึ้นเพื่อรองรับและอำนวยความสะดวกด้านการค้าระหว่างประเทศ ให้ทันต่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยทำการติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารทั่วประเทศ เพื่อรองรับระบบต่างๆของ กรมศุลกากรในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในการให้บริการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เต็มรูปแบบ
ขั้นตอนการผ่านพิธีการและตรวจปล่อยสินค้า ระบบเดิม มี 7 ขั้นตอน 8.เจ้าหน้าที่ตรวจสินค้าทุก Shipment 7.กำหนดชื่อนายตรวจแบManual 1.บริษัทจัดทำใบขนสินค้า นำใบขนสินค้าพร้อมเอกสารยื่นที่กรมศุลกากร 6.จนท.ลงทะเบียนตรวจสอบความถูกต้องและตรวจสอบกับบัญชีสินค้าที่ตัวแทนเรือยื่น 2.เจ้าหน้าที่ออกใบขนส่งลงทะเบียน 5.บริษัทยื่นใบขนฯและเอกสารแนบฝ่ายตรวจสินค้า 3.ตรวจสอบพิธีการ,พิกัด,ราคา 4.ชำระค่า ภาษีอากร
ระบบใหม่ 4 ขั้นตอน 1.บริษัทบันทึกข้อมูลต่างๆ ผ่านคอมพิวเตอร์ผ่านระบบ EDI ของกรมศุล จนท.สุ่มตรวจสินค้าตามหลักเกณฑ์ที่เครื่องกำหนด 2.เครื่องที่กรมศุลตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล(ถ้าถูกต้องจะชำระค่าภาษีอากรได้ทันที) 3.บริษัทยื่นเอกสารที่ฝ่ายตรวจสินค้า และตัวแทนเรือยื่นบัญชีสินค้า เพื่อให้จนท.ตรวจสอบและกำหนดชื่อนายตรวจอัตโนมัติ
การนำสินค้าเข้า/ส่งสินค้าออก 2.ผู้นำเข้า/ส่งออก ชำระเงิน E-Payment 3.ตัวแทนเรือยื่นบัญชี สินค้าสำหรับเรือ E-Manifest 1.ผู้นำเข้า/ส่งออก ยื่นใบขนสินค้า E-Declaration
E-Procurement คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการให้บริการที่เกี่ยวข้องในกิจกรรมการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ เช่น การตกลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา และการจัดซื้อรวมแบบออนไลน์
ขั้นตอนของระบบ E-Procurement 1. ค้นหาสินค้า/บริการที่จะซื้อผ่าน E-Catalog 2. เลือกหมวดสินค้าที่ต้องการจะซื้อผ่าน E-Shopping List 3. จัดประกาศเชิญชวนผ่าน Web-Site 4. ผู้ขายเสนอคุณสมบัติของสินค้าทางอินเตอร์เน็ต (E-RFP) 5. ผู้ซื้อตรวจสอบราคากลาง (E-RFQ) และ Track Record ของผู้ขาย 6. ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) 7. ประกาศผล ผู้ชนะและส่งมอบ/ตรวจรับพัสดุ 8. จ่ายเงินตรงด้วยระบบ E-Payment
E-Auction การจัดหาพัสดุซึ่งเกิดจากการรวมความต้องการจัดซื้อพัสดุในปริมาณมาก (Demand Aggregation) ทำให้คำสั่งซื้อมีมูลค่าสูงจนสามารถจัดการประมูลได้
ประเภทของการประมูลออนไลน์ English Auctions Dutch Auctions Private Auctions Reserve Auctions Vickery Auctions Yankee Auctions
ความแตกต่างของแบบดั้งเดิมและออนไลน์ การประมูลแบบดั้งเดิม การประมูลแบบออนไลน์ - เสนอราคาได้เพียงครั้งเดียว (Static Pricing) - เสนอราคาได้ไม่จำกัดครั้ง (Dynamic Pricing) - โปร่งใสน้อยกว่า - โปร่งใสทุกขั้นตอน - ใช้เวลายาวนานกว่า - ใช้เวลาดำเนินการสั้น - ต้องเดินทางมาติดต่อกัน - ออนไลน์ได้จากทั่วโลก - มีรูปแบบเดียว - ประมูลได้หลายรูปแบบ - จำกัดอยู่แค่ผู้ขายรายเดิม - เพิ่มโอกาสได้พบผู้ขายรายใหม่ ๆ