บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
หมดแล้วหมด เลย ไม่ได้คืนสักบาท ได้เงินคืน เดือนแรก 100 บาท และ เพิ่มขึ้นทุกเดือน ๆ ละ 100 บาท ถ้าโทรฯเดือนละ 500 บาท หมดเงิน 100 x 500 = 50,000 บาท ถ้าโทรฯเดือนละ.
การบันทึกรายการปรับปรุง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สถานการณ์การเงินการคลัง
1.
กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร. กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร.
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การบรรยายครั้งที่ 5 การวิเคราะห์แนวตั้งและแนวนอน
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
งบลงทุน Capital Budgeting
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การบริหารสภาพคล่อง ด้าน การเงินการคลัง รพ. แก่งกระจาน ปีงบประมาณ 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
ทุนส่งเสริมการศึกษาบุตรสมาชิก
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เราเรียน เราทำงาน เพื่ออะไร เพื่อใคร ?
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
FM FM
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 เงินสดและการควบคุมเงินสด
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค.– ก. ค. 56 เพิ่มขึ้น 29 % +1% +29% จำนวน โครงการ เงินลงทุน พันล้าน บาท 1,184 1,
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค. - ก. พ. 56 ลดลง 7 %
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน chapter 1

แบบฝึกหัด ส่วนที่ 2 ข้อที่ 4 แบบฝึกหัด ส่วนที่ 2 ข้อที่ 4 4. ดาวและเดือนเป็นหุ้นส่วนกัน แบ่งกำไรขาดทุน ในอัตรา 3 : 2 งบแสดงฐานะการเงินของห้างหุ้นส่วนเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 25x7 chapter 1

chapter 1

chapter 1

1. ให้บันทึกค่าความนิยม จำนวน 30,000 บาท ห้างหุ้นส่วนได้ตกลงรับ เด่น เข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ในวันนี้ และ ให้เด่น นำเงินสดมาลงทุนเป็นเงิน 80,000 บาท โดยให้ปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สินก่อนรับเด่น เข้ามาดังต่อไปนี้ 1. ให้บันทึกค่าความนิยม จำนวน 30,000 บาท 2. เครื่องตกแต่งให้มีราคา 30,000 บาท 3. ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญให้เป็น จำนวน 8,000 บาท 4. สินค้าให้มีราคาลดลง 4,000 บาท ดาว และ เดือน ต้องการมีทุน ทุนละเท่าๆ กัน จึงได้มีการโอนทุนระหว่างกันเพื่อให้มีเงินทุนเท่ากันก่อนที่จะรับเด่นเข้าใหม่ chapter 1

1. การบันทึกบัญชี ปรับปรุงสินทรัพย์ และ หนี้สินก่อนรับหุ้นส่วนใหม่ Dr. ค่าความนิยม 30,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม - เครื่องตกแต่ง 8,000 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000 สินค้าคงเหลือ 4,000 ทุน - ดาว (13,000 x 3/5) 7,800 ทุน - เดือน (13,000 x 2/5) 5,200 ปรับปรุงสินทรัพย์และแบ่งกำไรก่อนรับหุ้นส่วนใหม่ chapter 1

2. การปรับปรุงทุนหุ้นส่วนเก่า หุ้นส่วน - ดาว ทุนเดิม 88,000 จากการปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สิน 7,800 รวม 95,800 หุ้นส่วน - เดือน ทุนเดิม 58,000 จากการปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สิน 5,200 รวม 63,200 chapter 1

2. การปรับปรุงทุนหุ้นส่วนเก่า สรุป ทุน – ดาว 95,800 ทุน – เดือน 63,200 โอนทุนของหุ้นส่วนเดิม 95,800 – 63,200 = 32,600 ÷ 2 = 16,300 chapter 1

2. การปรับปรุงทุนหุ้นส่วนเก่า บันทึกบัญชีการโอนทุน Dr. ทุน – ดาว 16,300 Cr. ทุน – เดือน 16,300 chapter 1

2. การปรับปรุงทุนหุ้นส่วนเก่า หุ้นส่วน - ดาว ทุนเดิม 95,800 หัก โอนทุน 16,300 เหลือ 79,500 หุ้นส่วน - เดือน ทุนเดิม 63,200 บวก ทุนที่รับโอน 16,300 เหลือ 79,500 chapter 1

3. การบันทึกบัญชีการรับหุ่นส่วนใหม่ Dr. เงินสด 80,000 Cr. ทุน – เด่น 80,000 chapter 1

งบแสดงฐานะการเงิน หลังการปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สิน และ การรับหุ้นส่วนใหม่ chapter 1

chapter 1

chapter 1

แบบฝึกหัด ส่วนที่ 2 ข้อที่ 6 แบบฝึกหัด ส่วนที่ 2 ข้อที่ 6 แช่ม ชื่น โชค เป็นหุ้นส่วนกัน มีบัญชีทุนคงเหลือเมื่อ วันที่ 31 ธันวาคม 25x6 จำนวน 185,000 บาท 150,000 บาท และ 115,000 บาท ตามลำดับ แบ่งกำไรขาดทุนกันใน อัตราส่วน 3 : 2 : 1 สัญญาของห้างหุ้นส่วนกำหนดไว้ดังต่อไปนี้ chapter 1

1.การคำนวณ สิทธิส่วนได้เสียที่ แช่ม ได้รับ 1. เงินเดือน = 1,500 x 6 = 9,000 บาท 2. ดอกเบี้ยทุน = 185,000 x 5 % x 6/12 = 4,625 บาท 3. ค่าเบี้ยประกันชีวิตร่วม = 150,000 บาท แบ่ง แช่ม = 150,000 x 3/6 = 75,000 บาท ชื่น = 150,000 x 2/6 = 50,000 บาท โชค = 150,000 x 1/6 = 25,000 บาท chapter 1

1.การคำนวณ สิทธิส่วนได้เสียที่ แช่ม ได้รับ 4. ค่าความนิยม = 30,000 บาท 5. กำไรโดยประมาณเฉลี่ยปีละ = 48,000 + 84,000 + 105,000 +125,000 4 = 90,500 บาทต่อปี กำไรโดยประมาณเฉลี่ยถึงวันตาย = 90,500 x 6/12 = 45,250 บาท ส่วนแบ่งกำไรของ แช่ม = 45,250 x 3/6 = 22,625 บาท chapter 1

chapter 1

3. การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 30 มิถุนายน 25x7 Dr. กำไรขาดทุนโดยประมาณ 36,250 Cr. ทุน – แช่ม 36,250 คิดเงินเดือน ดอกเบี้ยทุน และกำไรโดยประมาณให้แก่หุ้นส่วนที่ถึงแก่กรรม เงินเดือน 9,000 ดอกเบี้ยทุน 4,625 ส่วนแบ่งกำไรโดยประมาณ 22,625 รวม 36,250 chapter 1

3. การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 30 มิถุนายน 25x7 Dr. ค่าความนิยม 30,000 Cr. ทุน – แช่ม 30,000 คิดค่าความนิยมให้หุ้นส่วนถึงแก่กรรม chapter 1

3. การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 30 มิถุนายน 25x7 Dr. เงินสด 150,000 Cr. ทุน – แช่ม 75,000 ทุน – ชื่น 50,000 ทุน – โชค 25,000 รับเงินประกันชีวิตร่วมกันของหุ้นส่วน chapter 1

3. การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 30 มิถุนายน 25x7 Dr.ทุน – แช่ม 4,500 Cr. ถอนใช้ส่วนตัว - แช่ม 4,500 โอนเงินถอนเข้าบัญชีทุนแช่ม chapter 1

3. การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 30 มิถุนายน 25x7 Dr.ทุน – แช่ม 321,750 Cr. เจ้าหนี้ ทายาทหุ้นส่วน - แช่ม 321,750 บันทึกโอนทุนหุ้นส่วน - แช่ม ให้แก่ทายาท chapter 1

3. การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 5 กรกฎาคม 25x7 จ่ายเงินคืนให้แก่ทายาท ของ แช่ม Dr. เจ้าหนี้ ทายาทหุ้นส่วน – แช่ม 321,750 Cr. เงินสด 160,875 ตั๋วเงินจ่าย 160,875 จ่ายเงินสดให้ทายาทแช่มครึ่งหนึ่งที่เหลือออกตั๋วเงินจ่ายอายุ 1 เดือน พร้อมดอกเบี้ย 10 % chapter 1

3. การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 5 สิงหาคม 25x7 ตั๋วเงินจ่ายครบกำหนด Dr. ตั๋วเงินจ่าย 160,875 ดอกเบี้ยจ่าย 1,341 Cr. เงินสด 162,216 จ่ายเงินตามตั๋วพร้อมดอกเบี้ยแก่ทายาทแช่ม (160,875 x 10% x 1/12 = 1,341 บาท) chapter 1