บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
การปรับปรุงหนี้เงินยืมทดรอง
การวิเคราะห์งบการเงิน
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
บทที่ 6 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การเลือกคุณภาพสินค้า
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 มิถุนายน 2552 พันธบัตรรัฐบาล 196 ล้านบาท = 34.56% เงินฝากธนาคาร 212 ล้านบาท = 37.47% ตราสารหนี้ธนาคารรับรอง 30 ล้านบาท = 5.34%
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
Lesson 11 Price.
Revision Problems.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 1 อัตราส่วน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
MARKET PLANNING DECISION
สถานการณ์การเงินการคลัง
1.
กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร. กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร.
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
งบลงทุน Capital Budgeting
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิง ของการให้บริการตู้สินค้า.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
เปรียบเทียบดัชนีชี้วัด ปีงบประมาณ
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้

ตัวอย่างเพิ่มเติม ข้อที่ 1

ตัวอย่างเพิ่มเติม ข้อที่ 1 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของลูกหนี้ บริษัทแห่งหนึ่งขายสินค้าราคาหน่วยละ 20 บาท กำหนดต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 12 บาท ต้นทุนคงที่รวม 72,000 บาท หน่วยขายรวมปีละ 18,000 หน่วย บริษัทนี้ต้องการลดมาตรฐานลูกหนี้และคาดว่ายอดขายจะเพิ่มขึ้น 1,000 หน่วย ระยะเวลาเรียกเก็บหนี้เพิ่มจาก 40 วัน เป็น 60 วัน ให้พิจารณาว่าจะเปลี่ยนแปลงมาตรฐานหรือไม่ (สมมติราคาขายและต้นทุนไม่เปลี่ยนแปลงและกำหนดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน 20%)

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ วิธีคำนวณ ขั้นที่ 1 คำนวณหากำไรส่วนที่เพิ่ม (ลดลง) กำไร/หน่วย = ราคาขาย/หน่วย - ราคาทุน/หน่วย = P/น - V/น กำไรที่เพิ่มขึ้นทั้งหมด = จำนวนหน่วยที่เพิ่มขึ้น X (P/น – V/น) = 1,000 (20 – 12) = 8,000 บาท

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 360,000 บาท

18,000 หน่วย ราคาขาย ต่อ หน่วย 20 บาท ต่อ หน่วย จำนวนหน่วยที่ขาย 18,000 หน่วย ราคาขาย ต่อ หน่วย 20 บาท ต่อ หน่วย

จำนวนหน่วยขาย X ราคาต่อหน่วย หายอดขาย จำนวนหน่วยขาย X ราคาต่อหน่วย 18,000 X 20 = 360,000 บาท

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 360 วัน ÷ 40 วัน 360,000 บาท 9 ครั้งต่อปี

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 360,000 บาท 40,000 บาท = 9 ครั้งต่อปี

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 360 วัน ÷ 60 วัน 360,000 บาท 6 ครั้งต่อปี

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 360,000 บาท 60,000 บาท = 6 ครั้งต่อปี

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 40,000 X 16

จำนวนหน่วยที่ขาย 18,000 หน่วย

ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 12 บาท ต้นทุนคงที่ = 72,000 บาท ขาย 18,000 หน่วย

การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 72,000 ÷ 18,000 = 4 บาท/หน่วย

ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 12 + 4 = 16 บาท ต่อ หน่วย

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 40,000 X 16 32,000 บาท = 20

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ 60,000 X 15.79

ยอดขายเพิ่มขึ้น 1,000 หน่วย ยอดขาย (เดิม) = 18,000 หน่วย ยอดขาย (ใหม่) 18,000 + 1,000 = 19,000 หน่วย

ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 12 บาท ต้นทุนคงที่ = 72,000 บาท ยอดขาย (ใหม่) = 19,000 หน่วย

การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 72,000 ÷ 19,000 = 3.79 บาท/หน่วย

ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 12 + 3.79 = 15.79 บาท ต่อ หน่วย

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ 60,000 X 15.79 47,370 บาท = 20

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) เปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในลูกหนี้เพิ่มขึ้น = นโยบายใหม่ – นโยบายเดิม = 47,370 – 32,000 = 15,370 บาท

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น = 15,370 X 20% = 3,074 บาท

การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 3 เปรียบเทียบกำไรที่ลดลง(ข้อ 1) กับผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่ลดลง (ข้อ 2)  (1) กำไรเพิ่มขึ้น = 8,000 บาท และ (2) ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น = 3,074 บาท เปลี่ยนแปลง สรุปได้ว่าควรใช้นโยบายใหม่คือลดมาตรฐานของลูกหนี้