บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ตัวอย่างเพิ่มเติม ข้อที่ 1
ตัวอย่างเพิ่มเติม ข้อที่ 1 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของลูกหนี้ บริษัทแห่งหนึ่งขายสินค้าราคาหน่วยละ 20 บาท กำหนดต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 12 บาท ต้นทุนคงที่รวม 72,000 บาท หน่วยขายรวมปีละ 18,000 หน่วย บริษัทนี้ต้องการลดมาตรฐานลูกหนี้และคาดว่ายอดขายจะเพิ่มขึ้น 1,000 หน่วย ระยะเวลาเรียกเก็บหนี้เพิ่มจาก 40 วัน เป็น 60 วัน ให้พิจารณาว่าจะเปลี่ยนแปลงมาตรฐานหรือไม่ (สมมติราคาขายและต้นทุนไม่เปลี่ยนแปลงและกำหนดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน 20%)
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ วิธีคำนวณ ขั้นที่ 1 คำนวณหากำไรส่วนที่เพิ่ม (ลดลง) กำไร/หน่วย = ราคาขาย/หน่วย - ราคาทุน/หน่วย = P/น - V/น กำไรที่เพิ่มขึ้นทั้งหมด = จำนวนหน่วยที่เพิ่มขึ้น X (P/น – V/น) = 1,000 (20 – 12) = 8,000 บาท
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 360,000 บาท
18,000 หน่วย ราคาขาย ต่อ หน่วย 20 บาท ต่อ หน่วย จำนวนหน่วยที่ขาย 18,000 หน่วย ราคาขาย ต่อ หน่วย 20 บาท ต่อ หน่วย
จำนวนหน่วยขาย X ราคาต่อหน่วย หายอดขาย จำนวนหน่วยขาย X ราคาต่อหน่วย 18,000 X 20 = 360,000 บาท
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 360 วัน ÷ 40 วัน 360,000 บาท 9 ครั้งต่อปี
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 360,000 บาท 40,000 บาท = 9 ครั้งต่อปี
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 360 วัน ÷ 60 วัน 360,000 บาท 6 ครั้งต่อปี
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 360,000 บาท 60,000 บาท = 6 ครั้งต่อปี
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 40,000 X 16
จำนวนหน่วยที่ขาย 18,000 หน่วย
ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 12 บาท ต้นทุนคงที่ = 72,000 บาท ขาย 18,000 หน่วย
การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 72,000 ÷ 18,000 = 4 บาท/หน่วย
ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 12 + 4 = 16 บาท ต่อ หน่วย
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 40,000 X 16 32,000 บาท = 20
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ 60,000 X 15.79
ยอดขายเพิ่มขึ้น 1,000 หน่วย ยอดขาย (เดิม) = 18,000 หน่วย ยอดขาย (ใหม่) 18,000 + 1,000 = 19,000 หน่วย
ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 12 บาท ต้นทุนคงที่ = 72,000 บาท ยอดขาย (ใหม่) = 19,000 หน่วย
การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 72,000 ÷ 19,000 = 3.79 บาท/หน่วย
ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 12 + 3.79 = 15.79 บาท ต่อ หน่วย
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ 60,000 X 15.79 47,370 บาท = 20
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) เปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในลูกหนี้เพิ่มขึ้น = นโยบายใหม่ – นโยบายเดิม = 47,370 – 32,000 = 15,370 บาท
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น = 15,370 X 20% = 3,074 บาท
การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 3 เปรียบเทียบกำไรที่ลดลง(ข้อ 1) กับผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่ลดลง (ข้อ 2) (1) กำไรเพิ่มขึ้น = 8,000 บาท และ (2) ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น = 3,074 บาท เปลี่ยนแปลง สรุปได้ว่าควรใช้นโยบายใหม่คือลดมาตรฐานของลูกหนี้