Agenda วัตถุประสงค์ การออกแบบระบบ การทดสอบ ประโยชน์ที่ได้รับ ปัญหาและอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข สรุปผลโครงการ ข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์ พัฒนาและจำลองระบบสัญญาณไฟจราจรที่สามารถทำงานได้ด้วยตนเองโดยอัตโนมัติ และสามารถควบคุมการจราจรตามสภาพและปริมาณการจราจรในขณะเวลานั้นๆ โดยสามารถควบคุมการจราจรจากศูนย์ควบคุมให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ผ่านระบบเครือข่ายได้
TCP/IP TCP/IP ศูนย์ควบคุมการจราจร
การออกแบบ แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ ส่วนชุดอุปกรณ์การแสดงผลสัญญาณไฟจราจรในรูปแบบสี่แยก ส่วนโปรแกรมประยุกต์สำหรับควบคุมการทำงานของสัญญาณไฟจราจรผ่านระบบเครือข่าย
ส่วนอุปกรณ์แสดงผล 7 segment ไมโครคอนโทรเลอร์ LED
ส่วนอุปกรณ์แสดงผล - ชุดไมโครคอนโทรเลอร์ ARM7 LPC 2368
ส่วนอุปกรณ์แสดงผล - ชุดแสดงผลตัวเลข 7 segment
ส่วนอุปกรณ์แสดงผล - ชุดแสดงผลหลอด LED
ส่วนอุปกรณ์แสดงผล
ส่วนโปรแกรมควบคุมการทำงานผ่านระบบเครือข่าย TCP/IP โปรแกรมควบคุม บุคลากร ไมโครคอนโทรเลอร์ สัญญาณไฟจราจร 7 segment
ส่วนโปรแกรมควบคุมการทำงานผ่านระบบเครือข่าย
ส่วนโปรแกรมควบคุมการทำงานผ่านระบบเครือข่าย
ส่วนโปรแกรมควบคุมการทำงานผ่านระบบเครือข่าย
การตรวจสอบคำสั่งที่อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้น - การกำหนดสัญญาณไฟเขียวในช่องการจราจรที่อยู่ติดกัน
การตรวจสอบคำสั่งที่อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุขึ้น - การกำหนดสัญญาณไฟเขียวในทุกช่องการจราจร
การทดสอบ การทดสอบแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ 1. ส่วนการทำงานของไมโครคอนโทรเลอร์ 2. ส่วนการทำงานของโปรแกรมควบคุมผ่านระบบเครือข่าย
ส่วนการทำงานของไมโครคอนโทรเลอร์ เป็นการทำงานแบบอัตโนมัติของไมโครคอนโทรเลอร์ตามที่ได้กำหนดค่าไว้ล่วงหน้า โดยจะเป็นแบบตั้งเวลาการปล่อยไฟเขียวและรูปแบบการปล่อยรถ
ส่วนการทำงานของโปรแกรมควบคุมผ่านระบบเครือข่าย ทำการทดสอบโดยเชื่อมระบบเครือข่ายของโปรแกรมควบคุมบนเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับไมโครคอนโทรเลอร์ที่มีชุดอุปกรณ์การแสดงผลสัญญาณไฟจราจร
ประโยชน์ที่ได้รับ ลดปัญหาการจราจรตามแยกการจราจร โดยใช้ระบบสัญญาณไฟจราจรที่สามารถควบคุมการทำงานผ่านระบบเครือข่ายได้ ซึ่งสามารถลดจำนวนบุคลากรที่ต้องทำการควบคุมสัญญาณไฟจราจรตามแยกการจราจรต่างๆ โดยตรง
ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข การเพิ่มเติมในส่วนของตัวแสดงผลตัวเลขนับถอยหลังแบบ 7 segment ทำให้ GPIO port มีไม่เพียงพอ - ไมโครคอนโทรเลอร์รุ่นที่ใช้มี GPIO port 25 GPIO พื้นที่ในการจัดเก็บโปรแกรมบนไมโครคอนโทรเลอร์มีขนาด 32 kb ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน แนวทางการแก้ไข ใช้ shift register ในการขยาย output โดยใช้ shift register เบอร์ 74HC595
สรุปผลโครงการ พัฒนาและจำลองระบบสัญญาณไฟจราจร ที่สามารถทำงานได้ด้วยตนเองโดยอัตโนมัติ ควบคุมและปรับเปลี่ยนการจราจรให้เป็นไปตามสภาพและปริมาณในขณะนั้น โดยการควบคุมจากศูนย์ควบคุมให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ผ่านระบบเครือข่ายได้
ข้อเสนอแนะ ปรับปรุงโปรแกรมให้ทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยอัตโนมัติและสามารถวิเคราะห์แยกการจราจรที่อยู่ใกล้เคียงกันมาช่วยในการตัดสินใจในการควบคุมสัญญาณไฟจราจรบนระบบเครือข่ายให้มีความสัมพันธ์กันมากยิ่งขึ้น ศึกษาและเพิ่มเติมเทคโนโลยี image processing ในการเข้ามาช่วยในการกำหนดการทำงานของสัญญาณไฟจราจร
Thank you for your attention.