การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอสเอ (Secret Sharing over RSA)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
COE เว็บปรับแต่งสำหรับศูนย์วิจัยและพัฒนา ระบบสุขภาพชุมชน Creation of Custom-built Web of CRDCH Research Center นายสุรศักดิ์ แสงเพชร รหัสนักศึกษา.
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
General Purpose Prepaid Payment System COE ระบบชำระค่าบริการ ด้วยบัตรเงินสด ผู้จัดทำ โครงการ นายธนิด นะทะศิริ รหัส นายพัฒนพงศ์ ศรีทวีกาศ.
ผู้ดำเนินโครงการ นายมนชิต วชิรพรพงศา รหัสนักศึกษา
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
Low-speed UAV Flight Control Phase II
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Wireless Sensor Network in Industrial Application
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
COE Electronic Voting System
Speed Increasing of Blum Blum Shub Generator
Speed Increasing of Blum Blum Shub Generator
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
COE โปรแกรมการจัดการตารางสอนสำหรับภาควิชา
COE การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 (Secret Sharing over RSA : Phase 2) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน.
Probabilistic Asymmetric Cryptosystem
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher 1.
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล
โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส
COE PC Based Electrocardiograph
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
Private Key Crypto หรือ Single-key algorithm หรือ one-key algorithm
การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ (Secret Sharing over RSA)
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher
การเข้ารหัสลับกุญแจ สาธารณะสำหรับ สภาพแวดล้อมเคลื่อนที่ และไร้สาย นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล COE อ. ที่ปรึกษา.
นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
PC Based Electrocardiograph
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลการฝึกซ้อมการบิน กรณีศึกษาโรงเรียนการบิน
RSA & DSA RSA คือ อัลกอริธึมการเข้าหรัสแบบกุญแจอสมมาตร ซึ่งจะได้
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
นำเสนอโดย นางสาวขวัญฤทัย เดชอุดม นางสาวยุวภา โฆสกิตติกุล
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การแยกตัวประกอบพหุนาม
Cryptography.
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การเข้ารหัสและการถอดรหัส
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
กำหนดการพลวัต (Dynamic programming)
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การเรียนรู้ร่วมกันผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์ Electronic Community Learning COE นายกิตติกัญจน์ เมฆประสาน นายจักรพงศ์ เปลี่ยนคำ
นายรัชภูมิ เกื้อภักดิ์ รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อนันท์ ชกสุริวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอสเอ (Secret Sharing over RSA) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย ดร. ภัทรวิทย์ พลพินิจ โดย นางสาวนัฐยาณี ดาราช รหัส 503040774-5 นางสาวสุภาวดี วนพงศ์ทิพากร รหัส 503040790-7

รายละเอียดการนำเสนอ ที่มาของโครงการ เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บทสรุป

ที่มาของโครงการ การแบ่งปันความลับหมายถึงการกระจายความลับท่ามกลางกลุ่มผู้ซึ่งได้รับการจัดสรรกุญแจลับในการเข้าถึงข้อมูล สามารถสร้างข้อมูลลับนั้นขึ้นมาใหม่ได้ หากมีจำนวนคนที่ได้สิทธิเพียงพอกับจำนวนที่ตั้งไว้ให้สามารถสร้างข้อมูลกลับได้ การแบ่งปันความลับดังกล่าวข้างต้นไม่เหมาะกับข่าวสารปริมาณมากเพราะต้องใช้จำนวนเต็มขนาดใหญ่คำนวณ เกิดความล่าช้าและไม่สะดวกต่อการส่งข้อมูลหาบุคคลที่อยู่ไกล โครงการการแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอสเอนี้ มีเป้าหมายที่จะทำให้การจัดสรรกุญแจทำได้รวดเร็วและปลอดภัยยิ่งขึ้น

เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ เป้าหมายของโครงการ สามารถพัฒนาอัลกอริทึมในการแบ่งปันข้อมูลลับและพัฒนาโปรแกรมในการแบ่งปันข้อมูลลับที่มีประสิทธิผล ขอบเขตของโครงการ พัฒนาโปรแกรมที่ใช้ในการแบ่งปันข้อมูลลับด้วยภาษา Python

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การเข้ารหัสแบบ RSA แผนผังการแบ่งปันความลับ (Secret Sharing Scheme) การทดสอบอัลกอริทึมด้วย SAGE การทดสอบมิลเลอร์-ราบิน (Miller-Rabin Test)

การเข้ารหัสแบบ RSA การเข้ารหัสแบบ RSA เป็นอัลกอริธึมการเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตร ในการเข้ารหัสโดยใช้ความรู้เรื่องเลขคณิตมอดุลาร์เข้ามาช่วยในการคำนวณ (modular arithmetic) RSA นั้นจะมีการสร้าง Public Key และ Private Key เพื่อใช้ในการเข้ารหัสและถอดรหัสโดยที่ ฝั่งผู้ส่งจะเข้ารหัสโดยใช้ Public Key และ ฝั่งผู้รับจะใช้ Private Key ในการถอดรหัส

ความปลอดภัยของการเข้ารหัสแบบ RSA

แผนผังตั้งต้น (Secret Sharing Scheme ) หมายถึงการแบ่งกุญแจลับออกเป็นส่วนๆและจัดสรรให้กับบุคคลที่ เกี่ยวข้องกับข้อมูล หากต้องการนำข้อมูลลับกลับมาสามารถทำได้ โดยการนำกุญแจของบุคคลจำนวนเท่าที่กำหนดในตอนแรกมา รวมกันเพื่อถอดรหัสข้อมูล แผนผังตั้งต้น (Threshold Schemes) หมายถึง บล็อกสำหรับสร้างกุญแจเพื่อการแบ่งปันกุญแจสาธารณะ ถูกคิดค้นโดย Adi Shamir

สมการที่เกี่ยวข้องกับแผนผังตั้งต้น การเข้ารหัส สมการพหุนาม (1) การถอดรหัส Vandemonde Matrix (2) สมการของการประมาณค่าพหุนามแบบลากรองจ์ (3)

ตัวอย่างที่1 การเข้ารหัสสมการพหุนาม สมมติให้ข้อความลับ คือ ตัวเลข M = 9 และ เลือกจำนวนเฉพาะ P = 29

ตัวอย่างที่2 การถอดรหัสแบบ Vandemonde Matrix

ตัวอย่างที่3 การถอดรหัสด้วยวิธีประมาณค่าพหุนาม ในช่วงแบบลากรองจ์ ตัวอย่างที่3 การถอดรหัสด้วยวิธีประมาณค่าพหุนาม ในช่วงแบบลากรองจ์

การทดสอบมิลเลอร์-ราบิน (Miller-Rabin Test) การทดสอบมิลเลอร์ – ราบิน เป็นวิธีที่ใช้ ในการตรวจสอบจํานวนเฉพาะที่มีประสิทธิภาพสูงในกรณีที่ใช้ทดสอบกับเลขจำนวนเฉพาะที่มีขนาดใหญ่ โดยเฉพาะที่มีขนาดใหญ่กว่า

อัลกอริทึมของการทดสอบมิลเลอร์-ราบิน

ปัญหาและอุปสรรค ความซับซ้อนทางด้านการคำนวณสูง มีเอกสารเผยแพร่น้อย

สิ่งที่จะดำเนินการต่อ ศึกษาทฤษฎีและอัลกอริทึมของการเข้ารหัสด้วย DES พัฒนาและออกแบบอัลกอริทึม พัฒนาโปรแกรมและทดสอบประสิทธิผลเชิงเวลาของการเข้าและถอดรหัส สำหรับแบ่งปันความลับระหว่างบุคคล ณ ค่าตั้งต้นของการแบ่งปันความลับร่วมต่างๆ

บทสรุป โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาอัลกอริทึมและพัฒนาโปรแกรมในการ แบ่งปันข้อมูลผ่าน RSA เพื่อให้ได้วิธีการในการแบ่งปันข้อมูลที่มีความ ปลอดภัยสูงและเหมาะกับการใช้กับข้อมูลขนาดใหญ่