ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน สำหรับจังหวัดขอนแก่น Land Use Planning System For Khon Kaen Department of Computer Engineering Faculty of Engineering l KKU
ผู้จัดทำโครงการ ผศ. วิโรจน์ ทวีปวรเดช นางสาวจารุณี สารีใส 473040573-2 นางสาวภัทราวัลย์ คำปลิว 473040605-5 อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. วิโรจน์ ทวีปวรเดช อาจารย์ร่วมประเมิน รศ.ดร. วนิดา แก่นอากาศ อ.รุจชัย อึ้งอารุณยะวี
หัวข้อนำเสนอ ที่มาและวัตถุประสงค์ ผลงานระบบ ระบบที่คาดว่าจะได้รับ ข้อเสนอแนะ สรุปผลการดำเนินการ
งานที่ได้ดำเนินการ ฐานข้อมูล อินเตอร์เฟส
ฐานข้อมูล ฐานข้อมูล GIS ฐานข้อมูลออกแบบเพิ่มเติม
ฐานข้อมูล : GIS กลุ่มชุดดิน (soil47,Rai2,tam_nam_t,Amphoe_t) การใช้ประโยชน์ที่ดิน+กลุ่มชุดดิน (Des_t,soil47,tam_nam_t,Amphoe_t) ขอบเขตพื้นที่จังหวัดขอนแก่น (Amphoe_t,tam_nam_t)
ฐานข้อมูล : ออกแบบเพิ่มเติม ตารางคำอธิบายกลุ่มชุดดิน (เลขที่กลุ่มชุดดิน,ลักษณะโดยทั่วไป,ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน,ความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืช,การจัดการ,คำอธิบาย) ตารางแนวทางแก้ไขปัญหา (เลขที่กลุ่มชุดดิน,รหัสสภาพปัญหา,รหัสแนวทางแก้ปัญหา) ตารางสภาพปัญหา (รหัสสภาพปัญหา,รายละเอียดของสภาพปัญหา,รหัสแนวทางแก้ปัญหา) ตารางวิธีแก้ไขปัญหา (รหัสแนวทางการแก้ปัญหา,แนวทางการแก้ปัญหา,วิธีการแก้ไขปัญหา)
อินเตอร์เฟส แสดงแผนที่ แสดงรายงาน
อินเตอร์เฟส : แสดงแผนที่
อินเตอร์เฟส : แสดงแผนที่
อินเตอร์เฟส : แสดงแผนที่
อินเตอร์เฟส : แสดงรายงาน รายละเอียดของกลุ่มชุดดิน การวิเคราะห์ปัญหาของทรัพยากรดินตามการใช้ประโยชน์ แนวทางและวิธีแก้ปัญหา
รายงาน : รายละเอียดของกลุ่มชุดดิน รายละเอียดกลุ่มชุดดิน ตำบล _____ อำเภอ _____ จังหวัด ขอนแก่น
รายงาน : รายละเอียดของกลุ่มชุดดิน ตารางคำอธิบายกลุ่มชุดดิน กลุ่มชุดดิน ฐานข้อมูล GIS อินเตอร์เฟส
รายงาน : รายละเอียดของกลุ่มชุดดิน รายละเอียดกลุ่มชุดดิน ตำบล _____ อำเภอ _____ จังหวัด ขอนแก่น กลุ่มชุดดินที่ 1 ลักษณะโดยทั่วไป : เนื้อดินเป็นดินเหนียวจัด หน้าดินแตกระแหงเป็นร่องเล็กในฤดูร้อน สีดินส่วนมากเป็นสีดำ หรือสีเทาแก่ ตลอดชั้นดินอาจมีจุดประสีน้ำตาลหรือสีเหลืองปะปนอยู่บ้างในดินชั้นบน … ปัญหาในการใช้ประโยชน์ :ดินเหนียวจัด การไถพรวนลำบาก ดินแห้งจะแตกระแหงเป็นร่องลึก ทำให้น้ำซึมหายได้ง่ายเมื่อฝนทิ้งช่วงนานกว่าปกติ ในช่วงฤดูฝนมีน้ำแช่ขัง ความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืช : พื้นที่มีศักยภาพเหมาะสมทำนา ในฤดูฝนมีน้ำขัง 4-5 เดือน แต่สามารถปลูกพืชไร่ เช่น ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว และผักต่าง ๆ ก่อนและหลังการปลูกข้าว ถ้ามีน้ำชลประทาน หรือแหล่งน้ำธรรมชาติ การจัดการ : ปลูกข้าวหรือทำนา เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน โดยการไถกลบตอซัง หลังการเก็บเกี่ยวข้าว การปลูกพืชตระกูลถั่วในช่วงหลังการเก็บเกี่ยวข้าว.. ปลูกพืชไร่ กรณีปลูกหลังเก็บเกี่ยวข้าว หรือปลูกฤดูแล้ง พืชไร่ที่จะปลูกควรมีอายุไม่เกิน 120 วัน ให้ยกร่องสูง 20-30 ซม. และมีร่องระบายน้ำรอบแปลง หรือภายในแปลงนาห่างกัน 15-20 เมตร ควรมีความกว้าง 40-50 ซม. ลึก 20-30 ซม. ..
รายงาน : การวิเคราะห์ปัญหาของทรัพยากรดินตามการใช้ประโยชน์ วิเคราะห์ปัญหาดินตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่ตำบล_____ อำเภอ____ จังหวัดขอนแก่น
รายงาน : รายละเอียดของกลุ่มชุดดิน รหัสของสภาพและแนวทางแก้ไขปัญหา ตารางแนวทางการแก้ปัญหา สภาพและแนวทางแก้ไขปัญหา กลุ่มชุดดิน ตารางสภาพปัญหา,ตารางแก้ไขปัญหา การใช้ประโยชน์ที่ดิน ฐานข้อมูล GIS อินเตอร์เฟส
รายงาน : การวิเคราะห์ปัญหาของทรัพยากรดินตามการใช้ประโยชน์ วิเคราะห์ปัญหาดินตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่ตำบล_____ อำเภอ____ จังหวัดขอนแก่น
รายงาน : แนวทางและวิธีแก้ปัญหา แผนหลักการพัฒนาและฟื้นฟูทรัพยากรดิน ตำบล___ อำเภอ___ จังหวัดขอนแก่น
รายงาน : รายละเอียดของกลุ่มชุดดิน รหัสของแนวทางแก้ไขปัญหา ตารางแนวทางการแก้ปัญหา แนวทางและวิธีแก้ไขปัญหา กลุ่มชุดดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตารางวิธีแก้ไขปัญหา ฐานข้อมูล GIS อินเตอร์เฟส
รายงาน : แนวทางและวิธีแก้ปัญหา แผนหลักการพัฒนาและฟื้นฟูทรัพยากรดิน ตำบล___ อำเภอ___ จังหวัดขอนแก่น
ปัญหาและอุปสรรค ยังไม่สามารถเขียน Map file ให้ครอบคลุมการทำงานของระบบได้ การจัดทำฐานข้อมูลของการใช้ประโยชน์ที่ดินรวมกับกลุ่มชุดดินนั้นต้องใช้เวลานาน
แผนการดำเนินการ มกราคม - กุมพาพันธ์ พัฒนาระบบ ทดสอบและแก้ไขระบบ 2551 พัฒนาระบบ ทดสอบและแก้ไขระบบ นำไปใช้
สรุปผลการดำเนินการ
สรุปผลการดำเนินการ