ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ 453040635-4 นายนฤนารถ อออิงทรัพย์ 453040773-2
ทีมงาน นายจักรี วิญญาณ 453040635-4 นายนฤนารถ อออิงทรัพย์ 453040773-2 นายนฤนารถ อออิงทรัพย์ 453040773-2 อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ดร.ดารณี หอมดี อาจารย์ร่วมประเมิน 1. ดร.นวภัค เอื้ออนันต์ 2. ดร.วสุ เชาว์พานนท์
ที่มาและความสำคัญของปัญหา เทคโนโลยีในปัจจุบันได้พัฒนาก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว มนุษย์โดยส่วนใหญ่พึ่งพาเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต เช่น โทรศัพท์มือถือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร คอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์ก็เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่กำลังเป็นที่สนใจในปัจจุบัน มีการพัฒนาจนสามารถเลียนแบบมนุษย์ได้ แต่หุ่นยนต์ที่ใช้กันอยู่ ส่วนมากนำเข้ามาจากต่างประเทศ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ของไทยยังไม่เป็นที่แพร่หลาย จึงเกิดแนวความคิดที่จะสร้างโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย เพื่อทำให้การศึกษาทางด้านนี้มีความเข้าใจง่ายขึ้น
วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ สามารถใช้โปรแกรมเพื่อที่จะควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่ายได้ เพื่อให้มีคนเข้ามาสนใจเทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์มากขึ้น สร้างพื้นฐานความรู้ให้แก่บุคคลที่สนใจทางเทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์
ขอบเขตของงาน โปรแกรมบนตัวหุ่นยนต์สามารถอ่านภาษาอย่างง่ายแล้วควบคุมหุ่นยนต์ได้ ภาษาอย่างง่ายนี้จะเป็นกลุ่มของชุดคำสั่งที่มีการทำงานเฉพาะในตัวของหุ่นยนต์เอง โปรแกรมบนคอมพิวเตอร์สามารถสร้างภาษาอย่างง่ายได้ โปรแกรมบนคอมพิวเตอร์สามารถส่งภาษาอย่างง่ายไปเก็บในหน่วยความจำของตัวหุ่นยนต์ได้
เครื่องมือที่ใช้ หุ่นยนต์ที่ใช้ทดสอบ Microsoft Visual C++ Compiler for Microcontroller
งานที่เกี่ยวข้อง I-Box Robot
Cricket Logo Editor
ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน ศึกษาความสามารถของภาษาแต่ละภาษาที่ใช้นิยมใช้ในการควบคุมหุ่นยนต์ ศึกษาการควบคุมหุ่นยนต์ขนาดเล็กที่มีในท้องตลาด ศึกษาการสร้างภาษาอย่างง่าย เขียนโปรแกรมบนหุ่นยนต์เพื่ออ่านโปรแกรมภาษาอย่างง่ายบนหน่วยความจำ ทดสอบการทำงานของโปรแกรมบนหุ่นยนต์และแก้ไขข้อผิดพลาด เขียนโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างภาษาอย่างง่าย เขียนโปรแกรมส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปเก็บที่หน่วยความจำบนตัวหุ่นยนต์ แก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรมและพัฒนาเพื่อให้ใช้งานได้ง่ายขึ้น สรุปรายงานขั้นสุดท้าย เขียนรายงานสรุป
TIME LINE
ผลงานที่ทำ 1.ศึกษาภาษาที่นิยมใช้ในการควบคุมหุ่นยนต์ได้ศึกษาจำนวน 3 ภาษา 2.ศึกษาด้านการควบคุมหุ่นยนต์และคุณสมบัติของหุ่นยนต์ขนาดเล็กแต่ละตัวที่มีขายในท้องตลาด
ภาษา Basic
ภาษา c
ภาษา Cricket Logo
เอกสารอ้างอิง 1. อิว ไอยรากาญจนกุลม, การเขียนคอมไพเลอร์ สำหรับ IBM PC ,พิมพ์ครั้งที่ 2 ,กรุงเทพมหานคร:บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด,2521 2. นายสมบูรณ์ โสภีร์, คู่มือการใช้งานบอร์ด ET-ROBOT LOGO 877, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร,บริษัท อีทีที จำกัด 3. http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/example/robot/ ค้นหาข้อมูลเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2548 4. http://www.kmitl.ac.th/~kswichit/LFrobot/LFrobot.html ค้นหาข้อมูลเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2548 5. http://www.inex.co.th/robot/robobox.html ค้นหาข้อมูลเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2548