บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย มิถุนายน 2553
หัวข้อ 1 บทนำ - เศรษฐศาสตร์กับบทบาทหญิงชาย หัวข้อ 1 บทนำ - เศรษฐศาสตร์กับบทบาทหญิงชาย เพศหญิงและเพศชาย sex female and male บทบาทหญิงชาย gender ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทหญิงชาย พัฒนาเศรษฐกิจ วิวัฒนาการบทบาทหญิงชาย แนวคิดของศาสตร์ต่างๆ เกี่ยวกับบทบาทหญิงชาย เศรษฐศาสตร์ กับ ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
หัวข้อ 2 การตัดสินใจอยู่ร่วมกันเป็นครัวเรือน แต่ละครัวเรือน – ตัดสินใจจัดสรรภาระงานระหว่างหญิงและชาย เด็กและผู้ใหญ่ ทฤษฎีนีโอคลาสสิก หลักการเดียวกับการค้าระหว่างประเทศ วิเคราะห์ผลดี ผลเสีย ที่เกิดจากการแบ่งงาน และ แลกเปลี่ยน ผลดีและผลเสียอื่นๆ ของการอยู่ร่วมกันเป็นครัวเรือน ทางเศรษฐกิจ และ สังคม
หัวข้อ 3: การแบ่งเวลาระหว่างงานในครัวเรือน และ ในตลาดแรงงาน การผลิต สอง ประเภท ในตลาดแรงงาน มีการซื้อขาย - ด้วยเงิน นอกตลาดแรงงาน ไม่มีผลตอบแทนเป็นตัวเงิน สามปัจจัยหลักที่มีผลต่อการตัดสินใจ อัตราค่าจ้าง (wage) รายได้อื่นๆ (non-labour income) การพักผ่อน (leisure) เวลาที่ใช้ผลิตสำหรับครัวเรือน มีมูลค่า (หรือคุณค่า) หรือไม่ จะประเมินอย่างไร นโยบายรัฐ การตัดสินใจทำงานของหญิงและชาย
หัวข้อ 4 และ 5 ความแตกต่างในอาชีพและรายได้ของหญิงชาย ปัจจัยด้านอุปทาน (การลงทุนในทุนมนุษย์) การศึกษาและฝึกอบรม ระยะเวลาทำงาน ความต่อเนื่องในการสั่งสมประสบการณ์ ปัจจัยด้านอุปสงค์ ( การเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงาน) ทฤษฎีต่างๆ เกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ จะขจัดความแตกต่างได้อย่างไร? ความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยสองด้าน
หัวข้อ 6 กระแสความสนใจเรื่องบทบาทหญิงชายและเศรษฐกิจ นโยบายเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อหญิงชาย โอกาสการทำงาน รายได้ การย้ายถิ่น ความเป็นอยู่และสวัสดิการ เศรษฐกิจภาคอภิบาล บทบาทหญิงชาย กับ นโยบายและมาตรการของรัฐ (gender mainstreaming) งบประมาณที่มีมุมมองหญิงชาย (gender budgeting)