ก๊าซธรรมชาติ 1 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
คำสั่ง : ให้นิสิตทุกคนส่ง การบ้านอาทิตย์หน้า ทั้ง Report II – III อย่างละ 1 หน้า.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
Primary and Final Energy
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
ภาษี ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 1 1.
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting)
วิชา ศ. 478 เศรษฐศาสตร์พลังงาน
Primary and Final Energy
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)
ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สถานการณ์การเงินการคลัง
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
THE OIL BUSINESS PROCESS
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การใช้ก๊าซธรรมชาติในยานยนต์ ( NGV)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
แผนผัง พลังงานเชิงพาณิชย์ ปี 2550
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ก๊าซเรือนกระจกกับพลังงาน
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
มาตรการควบคุมสินค้าและบริการควบคุม ปี 2554 รายการสินค้าและบริการควบคุม
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ก๊าซธรรมชาติ 1 1.
ภาษี ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 1 1.
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
สถานการณ์ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
กลยุทธ์ เด็ด รักษ์ พลังงาน สร้าง จิตสำนึก. แหล่ง แหล่ง พลังงานของไทย เมืองไทย เราอุดมสมบรูณ์ทุกอย่าง จริงมั้ย ? จริง แต่ จริง ไม่หมด รู้หรือไม่ ? เราพึ่งพาตัวเองไม่ได้
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า
ความมั่นคงด้านการจัดหาปิโตรเลียมและ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การจัดหาก๊าซธรรมชาติ หน่วย:ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน * รวมในประเทศ3,5063,5773,9964,0444,073.
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
RDF/ MSW Industry for Thailand
นโยบายพลังงาน-ปตท. และ ก๊าซCBG(2)
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ก๊าซธรรมชาติ 1 1

เอกสารอ้างอิง Peirce, W.S., Economics of the Energy Industries. บทที่ 10 Dahl, C. International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profits. บทที่ 7 และ 10

เอกสารอ้างอิง เอกสารต่างๆ เกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติ ใน website ของ ปตท. (www.pttplc.com)

ราคาน้ำมันแพง ทำให้หันมาใช้ NG มากขึ้น ในอัตราเพิ่มที่สูง ¾ ของปริมาณสำรองอยู่ในรัสเซียและตะวันออกกลาง 4 4

¾ ของปริมาณสำรองอยู่ในรัสเซียและตะวันออกกลาง กว่าครึ่งอยู่ในรัสเซีย อิหร่าน และกาตาร์ รัสเซีย และสหรัฐฯ เป็นผู้ใช้ NG รายใหญ่ที่สุด 5 5

Proved reserves At end 1986 At end 1996 At end 2005 At end 2006 of Natural Gas Trillion cubic Share R/P   metres of total ratio 1 Russian Federation n/a 47.66 47.65 26.3% 77.8 2 Iran 13.96 23.00 27.58 28.13 15.5% * 3 Qatar 4.44 8.50 25.36 14.0% 4 Saudi Arabia 4.02 5.69 6.82 7.07 3.9% 96.0 5 United Arab Emirates 5.41 5.78 6.07 6.06 3.3% 6 USA 5.36 4.66 5.79 5.93 11.3 7 Nigeria 2.40 3.48 5.15 5.21 2.9% 8 Algeria 3.26 3.70 4.50 2.5% 53.3 9 Venezuela 2.62 4.05 4.32 2.4% 10 Iraq 0.82 3.36 3.17 1.7% TOTAL WORLD 107.67 147.89 180.20 181.46 100.0% 63.3 More than 100 years. † Less than 0.05. ♦ Less than 0.05%. n/a not available.

Natural Gas Production Change 2006 Billion cubic metres 2006 over share 2001 2002 2003 2004 2005 of total 1 Russian Federation 542.4 555.4 578.6 591.0 598.0 612.1 2.4% 21.3% 2 USA 555.5 536.0 540.8 526.4 511.8 524.1 2.3% 18.5% 3 Canada 186.8 187.8 182.7 183.6 185.9 187.0 0.6% 6.5% 4 Iran 66.0 75.0 81.5 91.8 100.9 105.0 4.1% 3.7% 5 Norway 53.9 65.5 73.1 78.5 85.0 87.6 3.1% 3.0% 6 Algeria 78.2 80.4 82.8 82.0 88.2 84.5 –4.3% 2.9% 7 United Kingdom 105.9 103.6 102.9 96.0 87.5 80.0 –8.6% 2.8% 8 Indonesia 66.3 70.4 72.8 73.3 73.8 74.0 0.3% 2.6% 9 Saudi Arabia 53.7 56.7 60.1 65.7 71.2 73.7 3.5% 10 Turkmenistan 47.9 49.9 55.1 54.4 58.8 62.2 5.9% 2.2% TOTAL WORLD 2482.1 2524.6 2614.3 2703.1 2779.8 2865.3 100.0%

Natural Gas Consumption Change 2006 Billion cubic metres 2006 over share 2001 2002 2003 2004 2005 of total 1 USA 629.7 651.5 630.8 634.0 629.8 619.7 –1.7% 22.0% 2 Russian Federation 372.7 388.9 392.9 401.9 405.1 432.1 6.7% 15.1% 3 Iran 70.2 79.2 82.9 93.4 102.4 105.1 2.7% 3.7% 4 Canada 82.8 85.6 92.2 92.6 91.4 96.6 5.7% 3.4% 5 United Kingdom 96.4 95.1 95.3 97.0 90.8 –4.5% 3.2% 6 Germany 82.6 85.5 85.9 86.2 87.2 1.1% 3.0% 7 Japan 76.6 75.2 77.9 79.0 84.6 7.0% 8 Italy 65.0 64.6 70.9 73.6 78.7 77.1 –2.1% 9 Saudi Arabia 53.7 56.7 60.1 65.7 71.2 73.7 3.5% 2.6% 10 Ukraine 69.8 68.0 72.9 66.4 –8.8% 2.3% TOTAL WORLD 2449.7 2530.2 2589.8 2696.0 2780.3 2850.8 2.5% 100.0% of which: European Union 25 430.3 431.2 450.1 463.6 473.8 467.4 –1.4% 16.3% OECD 1328.3 1360.6 1380.4 1401.5 1414.0 1419.8 0.3% 50.0% Former Soviet Union 552.9 570.3 571.3 587.7 597.1 621.1 4.0% 21.7%   Other EMEs 568.5 599.3 638.0 706.8 769.2 809.9 5.3% 28.3%

NG สำคัญกับไทย พบมากในประเทศและนำมาใช้ทดแทนน้ำมันเกือบ 30 ปีแล้ว ลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญ: เป็นก๊าซ ทำให้เก็บสำรองและขนส่งได้ยาก ส่วนใหญ่ขนส่งทางท่อ (pipeline) (น้ำมันขนส่งได้ทั้งทางท่อ รถบรรทุก รถไฟ และเรือ) 9 9 9

ลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญ: สร้างท่อใช้เงินลงทุนสูง และไปเฉพาะจุด ขนส่งระยะไกล (> 3000 กม.) ขนส่งทางเรือตู้เย็น ในรูป liquefied natural gas (LNG) ลดปริมาตรลง 600 เท่าโดยความเย็น อุณหภูมิ –164๐ C เป็นเชื้อเพลิงที่เผาไหม้หมดจด ค่อนข้างสะอาด 10 10 10

ลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญ: หน่วยวัดปริมาตร ลูกบาศก์ฟุต (cubic feet cf.) หรือ ลูกบาศก์เมตร (cubic meters cm.) หน่วยความร้อนเป็น BTU 1 cf. = 1,000 BTU 1,000 cf. = 1 ล้าน BTU (MMBTU)  หน่วยมาตรฐานในการกำหนดราคา 11 11 11

ส่วนประกอบของ NG: ก๊าซมีเธน (methane หรือ C1 คือ C1H4) เป็นองค์ประกอบใหญ่สุด (>70%) ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้า โรงงาน และรถยนต์ (CNG หรือ NGV) 12 12 12

ส่วนประกอบของ NG: ก๊าซอีเธน (ethane หรือ C2 คือ C2H6) ใช้เป็นวัตถุดิบ (feedstock) ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี (เช่น เม็ดพลาสติก) 13 13 13

ส่วนประกอบของ NG: ก๊าซโพรเพน (propane หรือ C3 คือ C3H8) และก๊าซบิวเทน (butane หรือ C4 คือ C4H10) C3 ใช้เป็นวัตถุดิบ (feedstock) ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี C3 + C4 ผสมกันเป็นของเหลวอัดใส่ถัง เป็นก๊าซหุงต้ม (liquefied petroleum gas หรือ LPG) ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อหุงต้ม ในโรงงาน และในยานยนต์ 14 14 14

ส่วนประกอบของ NG: C5 ขึ้นไป คือ ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (natural gasoline) ใช้กลั่นเป็นผลิตภัณฑ์น้ำมัน CO2 ใช้ทำน้ำแข็งแห้ง Condensate น้ำมันดิบชนิดหนึ่งซึ่งแยกได้ที่แท่นผลิต 15 15 15

ก๊าซธรรมชาติในไทย: ผลจากการเร่งสำรวจหลังวิกฤติน้ำมันครั้งแรก พบมากในอ่าวไทย เริ่มผลิตได้ในปี 2524 ขนส่งทางท่อซึ่งวางจากแท่นผลิตมาขึ้นบกที่ระยอง และต่อไปยังโรงไฟฟ้าต่างๆ ไปสุดที่สระบุรี 16 16 16

ก๊าซธรรมชาติในไทย: ส่วนใหญ่ (C1 ) ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ในโรงงาน และ CNG ในรถยนต์ C3 + C4 ผสมกันเป็นก๊าซหุงต้ม (LPG) ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อหุงต้ม ในโรงงาน และในยานยนต์ (มากขึ้นมากในช่วง 4 - 5 ปีหลัง) 17 17 17

ก๊าซธรรมชาติในไทย: ส่วนอื่นๆ ใช้เป็นวัตถุดิบ (feedstock) ในอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี และใช้กลั่นเป็นผลิตภัณฑ์น้ำมัน การผลิตเพิ่มทุกปี แต่ไม่พอใช้ จึงต้องนำเข้าจากพม่าตั้งแต่ปี 2543 โดยขนส่งทางท่อ ในปัจจุบันก๊าซพม่าเป็น 30% ของการใช้ทั้งหมด 18 18 18

ก๊าซธรรมชาติในไทย: ในปี 2550 การผลิตเริ่มในพื้นที่ร่วมพัฒนา ไทย-มาเลเซีย (Joint Development Area หรือ JDA) ต้นปี 2550 ไทยมีปริมาณสำรองของ NG อยู่ 14.8 ล้านล้าน ลบ. ฟุต เหลือให้ใช้ได้อีก 18 ปี หากรวมกับของประเทศเพื่อนบ้าน คาดว่าจะใช้ไปได้อีกประมาณ 30 ปี 19 19 19

ก๊าซธรรมชาติในไทย: ปตท. เตรียมนำเข้า LNG จากตะวันออกกลาง เริ่มในปี 2554 20 20 20

ประเด็นเกี่ยวกับการใช้ก๊าซธรรมชาติของไทย: ส่วนใหญ่ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า เพื่อทดแทน น้ำมันเตา ข้อดี: มีมากในประเทศ ต้นทุนต่ำ และสะอาด 21 21 21

ประเด็นเกี่ยวกับการใช้ก๊าซธรรมชาติของไทย: ข้อเสีย: การผลิตไฟฟ้าต้องพึ่งพา NG สูงมากถึง 70% กระจุกตัวและเสี่ยงเกินไป ต้องนำเข้าเพิ่มขึ้นในที่สุด ราคาจะแพงตามน้ำมันในอนาคต 22 22 22

Production (Import / Export) and Consumption of Primary Commercial Energy Unit : KBD (COE)

Power Generation by Type of Fuel (PDP 99-02) Unit : GWh

ประเด็นเกี่ยวกับการใช้ก๊าซธรรมชาติของไทย: ถ้าไม่ใช้ NG เพิ่มขึ้น แล้วจะใช้เชื้อเพลิงอะไรผลิตไฟฟ้าในอนาคต? ตามแผน PDP 2007 (Power Development Plan 2007) จะใช้ถ่านหินนำเข้าและนิวเคลียร์ 25 25 25

ประเด็นเกี่ยวกับการใช้ก๊าซธรรมชาติของไทย: ถ่านหิน: ราคาถูก แต่สกปรก นิวเคลียร์: ไม่มีก๊าซเรือนกระจก แต่มีกัมมันตภาพรังสี ที่ “อันตราย” ถ้าไม่ใช้ถ่านหินนำเข้าและนิวเคลียร์ จะต้องพึ่งพา NG สูงมากถึงกว่า 80% 26 26 26