สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
Menu Analyze > Correlate
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล

การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล 1 วัตถุประสงค์การวิจัย 2 สมมุติฐานการวิจัย 3 ข้อมูล หรือ คำตอบที่ต้องการ 4 วิธีการ และ เครื่องมือที่ใช้

สิ่งที่ได้จากการวัด หรือสังเกต คะแนนผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะ Quantitative Qualitative Interval Nominal Ratio Ordinal

การนำเสนอข้อมูล ผลเชิงปริมาณ ผลเชิงคุณภาพ บทความบรรยาย ตาราง แผนภูมิ

สถิติ Statistics 1. สถิติบรรยาย/พรรณนา Descriptive Statistics เป็น สถิติพื้นฐาน ที่ใช้จัดกระทำกับข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายลักษณะต่าง ๆ ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. สถิติอ้างอิง Inferential Statistics เป็น สถิติที่ใช้ทดสอบความมีนัยสำคัญ โดยนำข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ สรุปแล้วอ้างอิงกลับไปยังประชากรเป้าหมาย

สถิติบรรยาย/พรรณนา Descriptive Statistics ความถี่ ร้อยละ (f , %) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ( , Mdn , Mo) * ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม การวัดการกระจาย (R , SD , SD2,, S2 ) * พิสัย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความแปรปรวน การหาความสัมพันธ์ ( 2 ,  , rxy ) แบบ Chi Square ข้อมูลนามบัญญัติ Nominal scale แบบ Spearman Ranks ข้อมูลเรียงอันดับ Ordinal scale แบบ Pearson Product Moment ข้อมูลแบบช่วง Interval scale อัตราส่วน Ratio scale

สถิติอ้างอิง Inferential Statistics การทดสอบนัยสำคัญของความแตกต่างของค่าเฉลี่ยประชากร (z, t, F-test) 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน t-Independent 2 กลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระแก่กัน t -Dependent/Correlated มากกว่า 2 กลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis Of Variances : ANOVA)

สถิติอ้างอิง Inferential Statistics การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของประชากร z- test - ทราบค่าความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ประชากรแต่ละกลุ่มมีขนาด  30 t - test - ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร - ประชากร แต่ละกลุ่มมีขนาด  30

แบบหนึ่งกลุ่มวัดครั้งเดียว (The One - Shot Case Study) เป็นแบบการวิจัย 1 กลุ่มได้รับการจัดกระทำ หลังจากนั้นทำ การทดสอบ Treatment Test X O µ = ค่าเฉลี่ยของประชากร หรือค่าคงที่ หรือค่ามาตรฐาน เพื่อศึกษาผลการเรียน จากการใช้วิธีสอน 4MAT โดยเทียบกับเกณฑ์การผ่านร้อยละ ๘๐

แบบหนึ่งกลุ่ม วัดก่อน วัดหลัง (The One – Group Pretest-Posttest Design) เป็นแบบการวิจัย 1 กลุ่ม มีการวัดก่อน และหลังการจัดกระทำ Pretest Treatment Posttest O1 X O2 df = n-1

แบบเปรียบเทียบสองกลุ่ม ที่คงที่ (The Static – Group Comparision Design) เป็นแบบการวิจัย 2 กลุ่ม ไม่มีการสุ่ม Treatment Test E X O C O

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน กำหนดสมมติฐานการวิจัย และ สมมติฐานทางสถิติ กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ  (alpha) หาค่าวิกฤติ โดยการเปิด ตาราง t (ค่าของขอบเขตการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานกลาง H0 ที่ถูกต้อง) หาค่าสถิติทดสอบ t (คำนวณโดยใช้สูตร) เปรียบเทียบค่า t ที่คำนวณได้ กับค่าวิกฤต (ค่า t ตาราง) ตัดสินใจสรุปผล t คำนวณ > t ตาราง = ปฏิเสธ H0 t คำนวณ < t ตาราง = ยอมรับH0

การกำหนดสมมติฐาน

การกำหนดระดับนัยสำคัญ : ระดับความมีนัยสำคัญ level of significance ใช้สัญลักษณ์  (alpha) - ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ในการทดสอบ - ความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่จะปฏิเสธสมมติฐานกลางที่ถูกต้อง - ค่าระดับความมีนัยสำคัญ โดยทั่วไปคือ 0.01 และ 0.05 (การทดสอบมีความน่าเชื่อถือได้ ร้อยละ 99 และ 95)

ค่าวิกฤต Critical value - ค่าที่เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจว่าจะ ยอมรับ หรือ ปฏิเสธ สมมติฐานกลาง H0 - ได้จากการเปิดตาราง t โดยใช้ค่าระดับความมีนัยสำคัญ และชั้นแห่งความเป็นอิสระ Degree of Freedom : df หน้า 197

วิธีการหาค่าวิกฤตจากการเปิดตาราง t เป็นการทดสอบสมมติฐาน หนึ่งทาง หรือ สองทาง กำหนดระดับนัยสำคัญ  (alpha) หาชั้นแห่งความเป็นอิสระ : df ค่าที่ระดับนัยสำคัญ กับ df ตัดกัน คือ ค่าวิกฤต

การหาค่าสถิติทดสอบ t : เป็นการพิจารณาค่าสถิติที่คำนวณได้ โดยเทียบกับพื้นที่ตามขอบเขต การยอมรับ หรือ ปฏิเสธ - ค่า t ที่คำนวณได้ น้อยกว่า ค่าวิกฤติ = ยอมรับ H0 t คำนวณ < t ตาราง = ยอมรับ H0 : ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน - ค่า t ที่คำนวณได้ มากกว่า ค่าวิกฤติ = ปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1 t คำนวณ > t ตาราง = ปฏิเสธ H0 : ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มแตกต่างกัน

การกำหนดสมมติฐาน

คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนักเรียนสองกลุ่มแตกต่างกัน การเปิดตาราง t คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนักเรียนสองกลุ่มแตกต่างกัน H0:คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนร.สองกลุ่มเท่ากัน H1:คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนร.สองกลุ่มแตกต่างกัน Ho : 1 = 2 H1 : 1  2 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 df = 18 ค่าวิกฤต = ……….…..

การเลือกใช้สถิติให้เหมาะสม การศึกษาผลการใช้เทคนิคการเสริมแรงทางบวกเพื่อ ลดพฤติกรรมก้าวร้าวในเด็กชายบี... วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้เทคนิคการเสริมแรงทางบวก ในการลดพฤติกรรมก้าวร้าวในเด็กชายบี... ข้อมูลที่ต้องการศึกษา(ตัวแปรตาม) คือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ (เชิงคุณภาพ) เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม เชิงบรรยาย การวิเคราะห์ข้อมูล : ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

การเลือกใช้สถิติให้เหมาะสม ผลการพัฒนาทักษะการอ่านโน้ตดนตรีสากล โดยใช้ชุดแบบฝึก Funny Song วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะการอ่านโน้ตดนตรี สากลโดยใช้ชุดฝึก Funny Song ข้อมูลที่ต้องการศึกษา(ตัวแปรตาม) ต้น =....................................... ตาม =.............................................. เครื่องมือ ................................. วิธีการ......................................... การวิเคราะห์ข้อมูล :.........................................................................