เรื่อง คำสรรพนาม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นิยามแห่งการลืมเลือน
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
วันนี้เรามาลองสมมุติกันค่ะ
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
จัดทำโดย ด.ญ.ณาชา จุฑาวิจิตรธรรม no.5 ด.ญ. สิรามล โสมนัส no.7
แอร์กับการคำนวณ... “ คุณรู้หรือไม่เครื่องปรับอากาศที่คุณใช้ในแต่ละวันนั้นสร้างปัญหาให้กับโลกและสิ่งมีชีวิต บนโลกอย่างไรบ้าง”
เรื่อง Adjectives หรือ คุณศัพท์
จงเพียงชมดูเท่านั้น.
สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
พระวาจาทรงชีวิต มิถุนายน 2011.
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง ข้าวสาลีมีความสำคัญต่อ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
Algorithms.
การวางแผนและการดำเนินงาน
คิดที่แตกต่างกรณีศึกษาจากฮาร์วาร์ด โดย.. ไพศาล สุริยะวงศ์ไพศาล
คำกริยา.
คำสรรพนาม.
มีเรื่องดี ๆ อยากให้อ่าน
คำวิเศษณ์.
เรื่อง คำอุทาน.
คำนาม.
นำเสนอหนังสือวิชาการ
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
คำทำนายธิเบต สำหรับคุณ
กลุ่มที่ ๔ การประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง “ งานสาร บรรณ ” ประธานกลุ่ม นางจินตนา นิลเกิดเย็น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม ๔๐ ท่าน.
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
สำนักงานขนส่งจังหวัดอุบลราชธานี
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
มุมมองเกี่ยวกับ “ความรัก”
ใบงานที่ 2 คำสั่ง ให้นักเรียนนำไฟล์ที่สร้างจากใบงานที่ 1 มาทำการเปลี่ยนพื้นหลัง การเปลี่ยนสไลด์ การกำหนดภาพเคลื่อนไหว ให้เหมาะสมสวยงาม คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
ม้ากับลา.
นิทานภาพเคลื่อนไหว เรื่อง นกน่ารัก คลิกต่อไป.
โรงเรียนหนองจอกกงลิบฮัวเคียว
Les meilleures photos de L'année 2005 D'après NBC ชีวิตร่วมกันของสองคน เต็มไปด้วย ความรื่นรมย์ บรรลุถึงความสุขดั่งเข้าใกล้สวรรค์
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ โดย .. เอ็ดเวิร์ด เดอโบโน
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
คำ วิเศษณ์ สนุกกับชนิดของคำ
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
โดย นางปิยพร ยศมา ตำแหน่ง ครูชำนาญการ กลุ่มสาระภาษาไทย
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
คนตัดไม้กับขวานเงินขวานทอง
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
“คำพูดคุณครู”.
9 คำถามหลังเรียน.
สนุกกับชนิดของคำ โดย ด.ช.อัมรินทร์ อุดมวรนันท์ ป.6/8 เลขที่ 15.
เซซิเลีย เธอทำลายหัวใจฉัน เธอทำให้ความมั่นใจฉันสั่นคลอนอยู่ทุกๆวัน
เรื่องราวเกี่ยวกับนาย นครินทร์ เทินเกษม รหัส สาขา การตลาด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ขอให้เธอลุยต่อๆไป เป็นสิ่งที่ดีที่เธอรู้จักบทบาท ของเธอในชีวิต.
บทลงโทษด้วย ความรัก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง คำสรรพนาม

คำสรรพนาม คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนามหรือแทนข้อความที่กล่าวมาแล้ว เพื่อมิต้องกล่าวนามหรือข้อความนั้นซ้ำอีก แบ่งออกเป็น 6 พวกคือ 1. บุรุษสรรพนาม 5. อนิยมสรรพนาม 2. ประพันธ์สรรพนาม 6. ปฤจฉาสรรพนาม 3. วิภาคสรรพนาม 4. นิยมสรรพนาม

บุรุษสรรพนาม บุรุษสรรพนาม ได้แก่ คำสรรพนามที่ใช้แทนชื่อบุคคล หรือสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการพูดจากัน ซึ่งในการพูดกันนั้น จะมีบุคคลหรือสิ่งต่างๆเกี่ยวข้องกันดังนี้ ผู้พูด เป็นสรรพนามบุรุษที่ 1 คือสรรพนามที่ใช้แทนตัวผู้ พูดเอง เช่น ฉัน เรา ผม ข้าพระเจ้า กระหม่อม หม่อมฉัน ผู้ฟัง เป็นสรรพนามบุรุษที่ 2 คือสรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้ฟัง ในการพูด เช่น เธอ ท่าน ฝ่าพระบาท เจ้าใต้เท้า ฝ่าละออง ธุลีพระบาท พระองค์

ท่าน พระองค์ เขา หล่อน มัน ( ใช้กับสิ่งของและสัตว์ ) เป็นต้น ผู้ที่ถูกพูดถึง สรรพนามที่ใช้แทนนามที่เราต้องพูดถึง เช่น ท่าน พระองค์ เขา หล่อน มัน ( ใช้กับสิ่งของและสัตว์ ) เป็นต้น

ประพันธ์สรรพนาม ประพันธ์สรรพนาม คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามหรือแทนคำสรรพนามที่อยู่ข้างหน้าและจะต้องติดอยู่กับนามหรือสรรพนามข้างหน้านั้น ได้แก่คำว่า ที่ ซึ่ง อัน เช่น คนที่ขยันจะสอบได้ โรงเรียนซึ่งมีนักเรียนมากควบคุมลำบาก ไม้บรรทัดอันสีเหลืองเป็นของฉัน

วิภาคสรรพนาม วิภาคสรรพนาม คำสรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสรรพนาม เพื่อแบ่งแยกนามหรือสรรพนามออกเป็นส่วนๆ ซึ่งมีคำว่า บ้าง ต่าง กัน เช่น นักเรียนต่างก็เรียนหนังสือ ต่าง แทนนักเรียนที่เรียนหนังสือ นักเรียนบ้างก็สอบได้บ้างก็สอบตก บ้าง แทนนักเรียนที่สอบได้และตก นักมวยชกกัน กัน แทนนักมวยคนที่ชกกัน

นิยมสรรพนาม นิยมสรรพนาม คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามเพื่อกำหนดความหมายให้แน่นอนชัดเจน ซึ่งมีคำว่า นั้น นี่ โน้น เช่น นี่คือจดหมายที่เขาเขียนมา นี่ หมายถึงจดหมายที่อยู่ใกล้ นั้นเป็นเครื่องฉายหนังแบบใหม่ นั้น แทนเครื่องฉายหนังระยะห่าง โน้นคือเรือใบของฉัน โน้น หมายถึงเรือใบที่ใกล้ออกไป

อนิยมสรรพนาม อนิยมสรรพนาม สรรพนามที่ใช้แทนคำนามไม่ได้กำหนดแน่นอนชัดเจน ได้แก่คำว่า อะไร ใคร ใด แต่คำเหล่านี้ไม่ได้เป็นคำถามที่ต้องการให้ตอบเป็นเพียงคำนามที่ไปชี้เฉพาะลงไปเท่านั้น เช่น ไม่มีใครชอบเขาเลย ใคร เป็นใครก็ได้ไม่ชี้เฉพาะ อะไรก็หายหมด อะไร แทนสิ่งที่หายไม่ได้ชี้เฉพาะ ที่ไหนฉันก็นอนได้ ไหน แทนสถานที่ที่ไม่เจาะจง

ปฤจฉาสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม สรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่เป็นคำนามหรือแสดงความสงสัย หรือใช้แทนสิ่งที่ยังไม่ทราบว่าอะไรแน่คำใช้เป็นปฤจฉาสรรพนาม ได้แก่ อะไร ไหน ใคร ใด จะเห็นว่าคำที่เป็นปฤจฉาสรรพนามนี้ เหมือนกับคำนิยมสรรพนามจะต่างกันที่ปฤจฉาสรรพนาม เป็นคำที่ต้องการคำตอบ เช่น เราต้องการอะไร อะไร แทนนามหรือสิ่งที่เธอต้องการ ใครเคาะประตู ใคร แทนนามที่เคาะประตู ไหนของเธอ ไหน แทนสิ่งที่เป็นของเธอ

1. ด.ญ. จินตนา ทองนิล เลขที่ 20 สมาชิกกลุ่ม 1. ด.ญ. จินตนา ทองนิล เลขที่ 20 2. ด.ญ. จิราภรณ์ แก้วมณี เลขที่ 21 3. ด.ญ. จีนพาพร ทองคำแ เลขที่ 22 4. ด.ญ. นฤมล ลีสุวรรณ์ เลขที่ 25 5. ด.ญ. นิศากร ตั๋นเจริญ เลขที่ 27 6. ด.ญ. เยาวพา ลือจันดา เลขที่ 34