Principle
ความแตกต่างจากระบบฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ สามารถที่จะติดต่อไปยังไซต์อื่นๆ และส่งแบบสอบถามและข้อมูลผ่านทางระบบเครือข่ายได้ สามารถจัดเก็บข้อมูลที่มีการกระจาย และข้อมูลที่มีการสำเนา ไว้ในแคตตาลอกของ DDBMSได้ สามารถวางแผนการสืบค้นข้อมูลได้ และการทำทรานแซกชันที่มีการใช้ข้อมูลมากกว่า 1 ไซต์
การมองผ่านของฐานข้อมูลแบบกระจาย การมองผ่านของสถานที่ตั้ง (LocationTransparency) การมองผ่านของการเก็บซ้ำ (Replication Transparency) การมองผ่านของการแตกกระจาย (Fragmentation Transparency)
องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย ความเหมือนและความแตกต่างกันของระบบจัดการฐานข้อมูลที่ใช้อยู่ในเครื่อง ความเป็นอิสระของการใช้ข้อมูลในแต่ละแห่ง คือการใช้ภายใน(local use) และการใช้ส่วนรวม (global use) ระดับของมองผ่านการกระจายหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าระดับของการรวมเค้าร่าง (Degree of schema integration)
เหตุจูงใจสำหรับการพัฒนาฐานข้อมูลแบบกระจาย งานฐานข้อมูลบางอย่างมีข้อมูลกระจัดกระจายอยู่ตามแหล่งต่างๆ เพิ่มความน่าเชื่อถือและความทันสมัยของข้อมูล เพื่อควบคุมการเข้าใช้ข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
ลักษณะสำคัญของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย ภาวะอิสระเฉพาะที่ (Local Autonomy) ภาวะไม่ขึ้นกับหน่วยงานกลาง (No Reliance on a central Site) เพิ่มความน่าเชื่อถือ (Reliability) และสภาพพร้อมใช้งาน (Availability) ความไม่ขึ้นกับตำแหน่ง (Location Independence) ความไม่ขึ้นกับการแตกกระจาย (Fragmentation Independence) ความไม่ขึ้นกับการทำซ้ำ (Replication Independence)
ลักษณะสำคัญของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย การประมวลผลข้อคำถามแบบกระจาย (Distributed Query Processing) การจัดการรายการเปลี่ยนแปลงแบบกระจาย (Distributed Transaction Management) ความไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ (Hardware Independence) ความไม่ขึ้นกับระบบปฏิบัติการ (Operating System Independence) ความไม่ขึ้นกับเครือข่าย (Network Independence) ความไม่ขึ้นกับระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Independence)
ผลดีและผลเสียของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย ความสามารถในการควบคุมการใช้ข้อมูลแบบภายใน ความสะดวกในการขยายขนาดของระบบ ความพร้อมของระบบคอมพิวเตอร์ ประสิทธิภาพที่สูงขึ้น
ผลเสีย การแก้ไขข้อมูลที่เก็บซ้ำกัน ความซับซ้อนในการประมวลผลการเรียกใช้ข้อมูล ความซับซ้อนในการควบคุมภาวะพร้อมกัน ความซับซ้อนในการฟื้นสภาพ