สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Advertisements

จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
คนบ้าเพราะความรัก.
นิทาน เรื่อง คุณยายพยาบาล
เรื่อง คำสรรพนาม.
ตัวสะกดพาเพลิน โดย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
สื่อประกอบการเรียนรู้
จัดทำโดย นางสมบัติ แตรไชย
ใครคือฉัน? ฉันคือใคร?.
แบบฝึกที่ 1 เขียนคำจากภาพ
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การปลูกพืชผักสวนครัว
การบูรณาการคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต เพื่อการเรียนการสอน
ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
การเพิ่มคำ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
ได้ซิจ๊ะแหม่ม ทำไมจะไม่ได้ล่ะ
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
คำกริยา.
คำนาม สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม สมุหนาม อาการนาม.
คำสรรพนาม.
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
คำวิเศษณ์.
คำนาม.
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
โรงเรียนบ้านแพะยันต์ดอยแช่
ข้อคิดฮิตโดนใจ โดย...อ.อ้อ สุธาสินี
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
นิทานภาพเคลื่อนไหว เรื่อง นกน่ารัก คลิกต่อไป.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
แบบอย่างผู้นำ 4 ทิศ 4 ธาตุ
Parts of Speech ( ชนิดของคำ )
การปลูกพืชผักสวนครัว
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
วิชาคอมพิวเตอร์ ง โครงงาน เรื่อง สนุกกับคำ เสนอ
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
1.ใครปฏิบัติตามเพศได้เหมาะสม
แปลเนื้อเพลง Steal my girl (ขโมยแฟนฉัน)
เกม 3 ตัวเลือก โดย นางปทุมพร ผิวอ่อน START.
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
เรื่อง การเขียนคำจากคำอ่าน
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
บทที่ ๙ สนุกสนานกับการเล่น.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
การเตรียมความพร้อม อนุบาล
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
คำ วิเศษณ์ สนุกกับชนิดของคำ
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
สนุกกับชนิดของคำ เรื่อง คำอุทาน สรุปแผนผังความคิด เรื่องคำอุทาน
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
“คำพูดคุณครู”.
โดย เด็กชาย ธัญญวิชญ์ ผลึกมณฑล ป.5/8 เลขที่16
แปลเนื้อเพลง Steal my girl ( ขโมยแฟนฉัน ) O เธอเป็นเหมือนราชินีของฉันตั้งแต่เราอายุ 16 เราต่างต้องการอะไรเหมือนๆกัน เรามีความฝันเหมือนๆกัน O ฉันมีทุกๆอย่างแล้ว.
เรื่อง ประโยค.
สนุกกับชนิดของคำ โดย ด.ช.อัมรินทร์ อุดมวรนันท์ ป.6/8 เลขที่ 15.
กั บ ดั ก ห นู.
โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร คำนาม คำสรรพนาม

ความหมายของคำนาม ชนิดของคำนาม หน้าที่ของคำนาม

ความหมายของคำนาม คำนาม คือคำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการและลักษณะของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตทั้งที่เป็นรูปธรรม ( ไก่ ดอกไม้ บ้าน )และนามธรรม ( ความดี การเขียน การนอน )

สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม สมุหนาม อาการนาม ชนิดของคำนาม สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม สมุหนาม อาการนาม

หน้าที่คำนาม กรรมของประโยค ส่วนขยายของคำอื่น ขยายคำกริยา ประธานของประโยค กรรมของประโยค ส่วนขยายของคำอื่น ขยายคำกริยา ทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม ทำหน้าที่เรียกขาน

นายแพทย์ คนไข้ ครู พยาบาล …... แจกัน โอ่ง จอบ เสียม………. มาทบทวนความรู้กันดีกว่า ยกตัวอย่างคำนาม นายแพทย์ คนไข้ ครู พยาบาล …... แจกัน โอ่ง จอบ เสียม………. หมี ช้าง เสือ กวาง……... ความดี ความเรียบร้อย การเดิน การวาด…….

ขีดเส้นใต้คำนามกันหน่อย ครูชมเชยนักเรียน ตำรวจจับผู้ร้าย แม่ปรุงอาหาร ชาวนาเกี่ยวข้าว น้องอาบน้ำสุนัข

ตรวจเฉลยคำนาม ครูชมเชยนักเรียน ตำรวจจับผู้ร้าย แม่ปรุงอาหาร ชาวนาเกี่ยวข้าว น้องอาบน้ำสุนัข

ความหมายของคำสรรพนาม ชนิดของคำสรรพนาม หน้าที่คำสรรพนาม

ความหมายของคำสรรพนาม คำสรรพนาม คือคำที่ใช้แทนนามในประโยคสื่อสาร เราใช้คำสรรพนามเพื่อไม่ต้องการกล่าวนามนั้นซ้ำ ๆ

ชนิดของคำสรรพนาม บุรุษสรรพนาม อนิยมสรรพนาม นิยมสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม วิภาคสรรพนาม ประพันธสรรพนาม

หน้าที่คำสรรพนาม กรรมของประโยค ส่วนขยายของคำอื่น ขยายคำกริยา ประธานของประโยค กรรมของประโยค ส่วนขยายของคำอื่น ขยายคำกริยา ทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม ทำหน้าที่เรียกขาน

ขีดเส้นใต้คำสรรพนามกันหน่อย ฉันเป็นเพื่อนกับเขา นั่นบ้านของเธอ เด็กบ้างเรียนบ้างเล่น ใครส่งเสียงดัง อะไรอะไรก็อร่อย

ขีดเส้นใต้คำสรรพนามกันหน่อย ฉันเป็นเพื่อนกับเขา นั่นบ้านของเธอ เด็กบ้างเรียนบ้างเล่น ใครส่งเสียงดัง อะไรอะไรก็อร่อย