Evalution of Antioxidation Activity

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
Advertisements

ภาระงาน กระบวนการ แหล่งข้อมูล ประเมินผล สรุป
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
การเทียบความทึบแสง (Spectrophotometry)
รองศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ รัตนาปนนท์
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
Ground State & Excited State
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เมื่อสารดูดกลืนแสง มีการถ่ายเทประจุ (charge transfer) หรืออิเล็กตรอน
Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
สารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน (antioxidants)
ปฏิกิริยาออกโทซิเดชัน (autoxidation)
Rayleigh Scattering.
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
ชีวเคมี II Bioenergetics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
Development of New Synthetic Methods
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
การเสื่อมเสียของอาหาร
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
สารสกัดจากมังคุด สารสกัดจีเอ็ม-1 (GM-1) สารสกัดแทนนิน (Tannin)
Amino Acids and Proteins
ประโยชน์ในผักแต่ละสี
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
เซลล์เชื้อเพลิง.
ความหมายและชนิดของคลื่น
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
สีของแสงที่เหมาะสมกับไก่ไข่
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
ครีมกันแดด (Sunscreen).
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
Alkynes 1-butyne 2-butyne
พันธะเคมี.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
วท 102 สมุนไพรและสารสกัดสมุนไพร (หัวข้อ 9)
การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Evalution of Antioxidation Activity The antioxidation activities of the crude extracts and pure compounds

1. Thiobarbituric Reactive Substances (TBARS) Methods to Screening on the free radical scavenging activity of the crude extracts and pure compounds 1. Thiobarbituric Reactive Substances (TBARS) 2. Ferrous Oxidation-Xylenol Orange (FOX) 3. Antilipid peroxidation 4. DPPH Radical Scavenging Assay ศึกษาว่าทำไมต้องใช้วิธีนี้

1 การทดสอบฤทธิ์ที่ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันด้วยวิธี Thiobarbituric Reactive Substances (TBARS) (Fauconneau และคณะ, 1997) วิธีนี้เป็นการติดตามปริมาณสารประกอบอัลดีไฮด์ที่เกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของ low density lipoprotein (LDL) กับโลหะไอออน เช่น Fe2+ Cu2+ โดยวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 532 นาโนเมตร

2 การทดสอบฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันด้วยวิธี Ferrous Oxidation-Xylenol Orange (FOX) (Jaffar ,และคณะ, 1994) เป็นวิธีที่วัดปริมาณ hydroperoxides ที่เกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของ low density lipoprotein ที่ถูกกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาด้วยโลหะไอออนโดยเปลี่ยน hydrogen peroxide ให้เป็นสารประกอบที่มีสี ด้วยการทำปฏิกิริยากับ xylenol orange [o-cresolsulfonphthalein-3,3’-bis(methyliminodiacetic acid) sodium salt] สารประกอบที่เกิดขึ้นมีการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 560 นาโนเมตร

3 การทดสอบฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันด้วยวิธี antilipid peroxidation (Tamura และคณะ, 1990) เป็นวิธีการวัดการเกิด lipid peroxidation ในไมโครโซมของหนูโดยเหนี่ยวนำให้เกิดปฏิกิริยาด้วยวิธีการเติม nicotinamide adenine dinucleotide phosphate (NADPH) และวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยวิธี TBARS ที่ความยาวคลื่น 532 นาโนเมตร

4 การทดสอบฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันด้วยวิธี DPPH Radical Scavenging Assay (Yamasaki และคณะ, 1994) เป็นการทดสอบฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยให้สารตัวอย่างทำปฏิกิริยากับ DPPH (1,1-diphenyl-2-picrylhydrazyl) ซึ่งเป็นอนุมูลอิสระที่เสถียรมีสีม่วง เมื่อ DPPH ได้รับอิเล็กตรอนหรืออนุมูลอิสระไฮโดรเจน จะเปลี่ยนเป็น DPPH:H ติดตามผลการทดลองโดยวัดการดูดกลืนแสงของสารละลายที่ความยาวคลื่น 517 นาโนเมตร ซึ่งเป็นค่าการดูดกลืนแสงของ DPPH

REFERENCES

THANK YOU