การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ระบบสารสนเทศเพื่อการปกครอง
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายและการขับเคลื่อน
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
รูปแบบแผนชุมชน.
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
1 ยุทธศาสตร์การสนับสนุน การวิจัยของ สกว. ปี วุฒิพงศ์ เตชะดำรงสิน รองผู้อำนวยการ สกว. jscom/ ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กลุ่มที่ 1.
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย ABC : Area-Based Collaborative Research การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย ดร. สีลาภรณ์ บัวสาย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

การเชื่อมต่อองค์ประกอบ 2. ความรู้เพื่อแก้ปัญหา/ องค์ประกอบ 2 ส่วนของงาน ABC 1. กลไกขับเคลื่อน การเชื่อมต่อองค์ประกอบ 2. ความรู้เพื่อแก้ปัญหา/ พัฒนาเฉพาะด้าน

AB Value Chain Supply Chain Function-based agencies คน ทรัพยากร การผลิต ทุน ตลาด/ผู้บริโภค Value Chain Supply Chain ตัวตั้ง Commodity-based ตัวตั้ง Area-based การเรียนรู้ สหกรณ์ พช. พอช. กศน. อาชีวศึกษา ฯลฯ น้ำ ที่ดิน ชลประทาน กรมที่ดิน กท.ทส. เทคโนโลยี กท.เกษตร ฯลฯ เงินทุน ธกส. กทบ. ชุมชนพอเพียง ฯลฯ ช่องทางขาย พาณิชย์ ธุรกิจเอกชน ฯลฯ

C COLLABORATION การเห็นคุณค่าของความแตกต่าง การสร้างความไว้วางใจกันและกัน การมีพื้นที่ปฏิบัติการร่วมกัน การเห็นเป้าหมายร่วม การให้จังหวะสัญญาณ วิถีของการใช้พลังของความแตกต่างให้เกิดประโยชน์ วิถีแห่งการสร้างสรรค์ของใหม่ที่มีมูลค่าเพิ่มสูง วิถีคิดที่ก้าวข้ามความขัดแย้ง-แบ่งขั้ว วิถีทางไปสู่การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน วิถีแห่งการรวมพลังสร้างสรรค์

1. การเชื่อมต่อองค์ประกอบเพื่อสร้างกลไกขับเคลื่อน ข้อมูล บัญชีครัวเรือน ในฐานะข้อมูลใกล้ตัว สร้างการ “ระเบิดการเรียนรู้” จากภายในได้ง่าย กลไก ความร่วมมือเชิงพื้นที่ การจัดการเรียนรู้ การจัดการความสัมพันธ์ กระบวนการ

Design ของการบูรณาการจังหวัดเพื่อแก้ปัญหาความยากจน การเรียนรู้ปัญหา สาเหตุของปัญหา ของตนเอง ข้อเสนอ/แผนเพื่อแก้ปัญหา ทำเอง ทำร่วมกับ อปท. ขอให้หน่วยราชการช่วย ระบบ GIS จังหวัด เวทีวิเคราะห์ข้อมูล ชุมชน การจัดสรรงบประมาณ สนับสนุนตามแผน ข้อมูลครัวเรือน อปท. การร่วมเรียนรู้/เข้าใจ ปัญหาของชาวบ้าน กระบวนการ เก็บข้อมูล หน่วยราชการ

Back to basic ทำไมครัวเรือน เป็นหน่วยสังคมเริ่มต้น (basic social structure) เป็นหน่วยการผลิตขั้นพื้นฐาน (basic production unit) เป็นหน่วยออกเสียงเลือกตั้ง (basic constituency) 19.6 ล้าน ครัวเรือน (2552)

2. ความรู้เพื่อแก้ปัญหา/พัฒนาเฉพาะด้าน การพัฒนาพื้นที่ แผนพัฒนาชุมชน ตำบล จังหวัด การปฏิบัติการตามแผน การจัดงบประมาณสนับสนุน การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน กลไกจัดการพื้นที่ ส่วนราชการ ประชาสังคม ภาคธุรกิจ ชุมชน วิชาการ 2. ความรู้เพื่อแก้ปัญหา/พัฒนาเฉพาะด้าน มิติเศรษฐกิจ การวางแผนการผลิต การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การสร้างมูลค่าเพิ่ม การสร้างระบบเศรษฐกิจพื่งตนเอง มิติทรัพยากร น้ำ ที่ดิน ป่า ชายฝั่ง สิ่งแวดล้อม มิติสังคม การศึกษา เยาวชน สื่อ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สวัสดิการ สุขภาพ การเมืองการปกครอง ระบบการบริหารราชการท้องถิ่น ภูมิภาค ส่วนกลาง วัฒนธรรมประชาธิปไตย

เพื่อการพัฒนาพื้นที่ เชิงนโยบาย : ลักษณะความร่วมมือที่มีผลต่อการบริหารราชการแผ่นดิน พฤติกรรมการก่อหนี้ เครื่องมือเพื่อยกระดับการเรียนรู้ของกลุ่มเกษตรกร อิทธิพลของสื่อต่อการรับรู้และปรับพฤติกรรมของชุมชน เชิงเทคโนโลยี : ทางเลือกอาชีพ/การลดต้นทุนการผลิต โซ่อุปทานสินค้าเกษตรหลักของพื้นที่ การจัดการขยะในพื้นที่ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการน้ำ/ที่ดิน ฯลฯ 2. ความรู้ เพื่อการพัฒนาพื้นที่ เชิงวิชาการ : Social Determinants of Health Knowledge manager ปัจจัยที่ทำให้ลักษณะความสัมพันธ์ในพื้นที่แตกต่างกัน ฯลฯ

ด้วยกระบวนการและเครื่องมือที่เหมาะสม เกษตรกรสามารถปลดหนี้ได้ด้วยตนเอง ข้อค้นพบ ว่าด้วย ความสามารถในการจัดการหนี้สินของเกษตรกร ความสามารถในการชำระหนี้ บาท/ปี แบ่งตามกลุ่มอาชีพ จากข้อมูล 782 ตัวอย่างใน 16 จังหวัด รวมกลุ่มเกษตรกร รับจ้าง ค้าขาย รับราชการ รวม ทุกอาชีพ Mean 36,212 20,390 42,902 33,906 35,429 จำนวน 632 53 50 47 782 มูลหนี้ที่ ลดได้ (ล้านบาท) 22.89 1.08 2.15 1.59 27.71 ด้วยกระบวนการและเครื่องมือที่เหมาะสม เกษตรกรสามารถปลดหนี้ได้ด้วยตนเอง

การเพิ่มความสามารถในการ ประกอบการเชิงธุรกิจของเกษตรกร ยุทธศาสตร์การแก้ปัญหาสำหรับภาคการเกษตร การเพิ่มความสามารถในการ ประกอบการเชิงธุรกิจของเกษตรกร

กระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ ว่าด้วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการสร้างประชาธิปไตยฐานราก ว่าด้วยกระบวนการสร้างครอบครัวอบอุ่น กระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ ว่าด้วย ว่าด้วยการสร้างกลไกการพัฒนาจังหวัดแบบมีส่วนร่วม เพื่อรองรับการสร้างธรรมาภิบาลจังหวัด ว่าด้วยกระบวนการบูรณาการทรัพยากรในจังหวัดเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน

Stock & Flow กับการเกิดโครงสร้างความสัมพันธ์ใหม่ มิติอาชีพ/ เศรษฐกิจ มิติทรัพยากร มิติสังคม กลไกจังหวัด (ขบวนบน) กลไกชุมชน (ขบวนล่าง) หน่วยงานราชการ อปท. ชุมชน วิชาการ ธุรกิจ กลุ่มการผลิต หน่วยราชการ ตลาด วิชาการ กลุ่มอนุรักษ์ หน่วยราชการ อปท วิชาการ เครือข่ายประชาสังคม หน่วยราชการ อปท. วิชาการ

การวิจัยในฐานะเครื่องมือสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ การวิจัยที่เปลี่ยนบริบททางสังคม : เปลี่ยนการรับรู้-เรียนรู้ เปลี่ยนความสัมพันธ์ การวิจัยที่สร้างความรู้ที่สอดคล้องกับบริบท : สอดคล้องกับศักยภาพและโอกาสของพื้นที่ สอดคล้องกับความต้องการแก้ปัญหาของคนในพื้นที่

เมืองสุขภาพ พะเยา เมืองมรดกวัฒนธรรม แม่ฮ่องสอน ความมั่นคงทางอาหาร กาฬสินธุ์ การปรับตัวอาชีพ พิษณุโลก โคเนื้อ อุบลราชธานี เมล็ดพันธุ์ข้าว ชัยนาท พริก ชัยภูมิ การจัดการน้ำ น่าน ระยอง กำแพงเพชร ทรัพยากรชายฝั่ง/การศึกษา สุราษฎร์ธานี ผลไม้ นครศรีธรรมราช