การวิเคราะห์งบการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับปรุงหนี้เงินยืมทดรอง
Advertisements

รูปแบบการนำเสนอ ผลการดำเนินงาน ของสำนักวิชา สิ้นสุดไตรมาสที่ 2 (ตุลาคม 2550 – มีนาคม 2551)ปีงบประมาณ พ.ศ
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
Statement of Cash Flows
Document Flow :: 3 Concepts
หลักการและเหตุผล. โครงการลงบัญชีเงินยืมทดรองจ่ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยคลัง งานคลังและพัสดุ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
ฝ่ายนโยบายและแผน งานงบประมาณ ฝ่ายการคลัง ภาควิชา หน่วยงาน
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
สถานการณ์การเงินการคลัง
การเบิกจ่ายเงินยืม ตามระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษา เงินและการทำเงินส่งคลัง พ.ศ หมวดที่5 โดย จุรีวรรณ สายสมาน.
วิเคราะห์จากข้อมูลหรือรายงานทางการเงิน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
เงินสดเป็นทรัพย์สินหมุนเวียนสำคัญที่ต้องการระบบควบคุมที่แน่นหนาและรัดกุม
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ
โดย พ.ต.ท.หญิง วาสนา สุวรรณเรืองศรี รอง ผกก.ฝ่ายบัญชี 3 กช.สงป.
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
รายงานสถานภาพงบประมาณ
ระบบเจ้าหนี้ ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
เปรียบเทียบดัชนีชี้วัด ปีงบประมาณ
1 การบันทึกในระบบ GFMIS ใน ปีงบประมาณ 2549 ที่แตกต่างจากปี 2548 โครงการ GFMIS โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
การตรวจเงิน รายงานการเงินที่หัวหน้าหน่วยงานคลัง จัดทำเสนอปลัด อปท. เพื่อนำเสนอผู้บริหารท้องถิ่น การรายงานข้อมูลทางด้านการเงินการคลัง ประกาศงบแสดงฐานะการเงิน.
งานวางแผนและงบประมาณ
1. เป้าหมายการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ปีงบประมาณ 2557 ณ วันที่ 20 มิถุนายน พ. ศ.2557 รายการ ไตรมาส 1 ( ต. ค.- ธ. ค.55) ไตรมาส 2 ( ม. ค.- มี. ค.56) ไตรมาส.
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
1.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
โดย น. ส. อัญจนา ศรีสวรรค์ กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์.
Accounts payable system
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 กลุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์งบการเงิน นางจุรีวรรณ สายสมาน,นางสาวจีรภา แดงทน งานการเงิน สำนักวิทยบริการ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิเคราะห์งบการเงิน 1. เพื่อวางแผนทางการเงิน 2. เป็นข้อมูลในการบริหารเงินสด ทรัพย์สิน และทุนของ หน่วยงาน 3. นำข้อมูลจากงบการเงินไปจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จำกัดไปบริหารให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4. วางแผน – พยากรณ์ ในการลงทุนเพื่อการดำเนินงาน 5. ประกอบการตัดสินใจในการดำเนินงาน การพัฒนา องค์กร และการบริหาร

ขั้นตอนการวิเคราะห์งบการเงิน ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1. กำหนดวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ให้ชัดเจน 2. จัดเก็บรวบรวมข้อมูล 3. จัดวางข้อมูลในอยู่ในรูปแบบเดียวกัน 4. เลือกเครื่องมือ(เทคนิค)มาใช้ในการวิเคราะห์ 5. แปลความหมายและการประเมินผลที่ได้จาก การวิเคราะห์

เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน . วิเคราะห์โครงสร้างจากงบการเงิน . วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน . วิเคราะห์จากข้อมูล/รายงานทางการเงิน

งบการเงิน มี 4 ประเภท 1. งบดุล/งบแสดงฐานะทางการเงิน 2. งบรายได้ค่าใช้จ่าย (งบไรขาดทุน) 3. งบกระแสเงินสด 4. งบกำไรสะสม

งบการเงินของภาคราชการ 1. งบดุล/งบแสดงฐานะทางการเงิน เพื่อ แสดงฐานะทางการเงินได้แก่ ทรัพย์สิน หนี้สิน และทุน การใช้ประโยชน์ ใช้วิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงิน ของหน่วยงานทรัพยากรต่าง ๆ ของหน่วยงานว่าขาด แคลน มีความเพียงพอ หรือเกินความจะเป็น และ ทราบภาวะหนี้ของหน่วยงาน

2. งบรายได้และค่าใช้จ่าย(งบกำไรขาดทุน ) เพื่อแสดงผลการดำเนินงานของหน่วยงาน การใช้ประโยชน์ - ใช้เปรียบเทียบรายได้ที่หน่วยงานได้รับ/พึงได้รับในงวด กับค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้จ่ายทั้งหมด(มีภาระต้องจ่าย/พึงจ่าย) - ใช้เป็นข้อมูลเพื่อวิเคราะห์โอกาสในการเพิ่มประสิทธิภาพ ได้

เครื่องมือที่ใช้ วิเคราะห์ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 1.อัตราการหมุนเวียนลูกหนี้ (Receivable Turnover) อัตราส่วนนี้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหนี้ อัตราการหมุนเวียนยิ่งสูง หมายถึงมีความสามารถในการบริหารลูกหนี้ สามารถเปลี่ยนลูกหนี้เป็นเงินสดได้เร็ว ควรวิเคราะห์เป็นรายไตรมาส/รายปี ลูกหนี้เฉลี่ยหาได้จาก ลูกหนี้เฉลี่ย = (ลูกหนี้ต้นงวด+ลูกหนี้ปลายงวด / 2) หรือ ลูกหนี้เฉลี่ย =

3.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ (Average Collection Period) แสดงระยะเวลาการเรียกเก็บหนี้ว่ายาวนานแค่ไหน นำมาเปรียบเทียบกับเงื่อนไขการชำระเงิน (Term of sale) จะเห็นประสิทธิภาพในการเรียกเก็บหนี้

วิเคราะห์ลูกหนี้เงินยืมสำนักวิทยบริการ ปีงบประมาณ 2556 เงินยืมทดรองจ่ายหมุนเวียนสำนักวิทยบริการ 800,000.- บาท ยอดลูกหนี้เงินยืม 318 ราย เป็นเงินรวม 2,971,074.91 บาท ยอดลูกหนี้ยกมาจาก ปี 55 จำนวน 6 ราย เป็นเงิน 69,023.87 บาท ยอดลูกหนี้คงค้าง ปี 56 จำนวน 19 ราย เป็นเงิน 167,250.56 บาท อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้สำนักวิทยบริการ ปี 2556 คือ ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ = 25.44

จากผลการวิเคราะห์ สรุปว่า - สำนักวิทยบริการมีอัตราการหมุนเวียน ของลูกหนี้ 25 รอบ - ใน ปี 2556 มีระยะเวลาในการเก็บหนี้ถัว เฉลี่ย 15 วัน ต่อ 3.วิเคราะห์จากข้อมูล/รายงานทางการเงิน