จากมุมมองด้านการเรียนการสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Getting Started with e-Learning
Advertisements

E-learning วิทยาลัยราชพฤกษ์.
โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
โดย.. ไชยยงค์ กงศรี ฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2553
Lessons Learned: ICT in Education
แนวทางการสนับสนุนการพัฒนา ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
( Crowdsourcing Health Information System Development )
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
หลักการพัฒนา หลักสูตร
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
สำหรับการเรียนรู้ ESS
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
เทคนิคการเป็นวิทยากรอบรมเข้มเสริมประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิทยาการจัดการ
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
Knowledge Management (KM)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การออกแบบเว็บเซอร์วิสสำหรับการจัดการบริการ ของมหาวิทยาลัย A Web Service Design for University Services Management.
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การจัดการศึกษาในชุมชน
สื่อการเรียนการสอน.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การอบรมพัฒนาระบบ Learning Managment System ด้วยโปรแกรม Moodle คณะแพทยศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 4-5 มี.ค.2551.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
การวัดผล (Measurement)
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
สื่อการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยโปรแกรม Moodle
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
Moodle Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพรรณี สมบุญธรรม
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
ระบบบริหารการเรียนการสอน บนเครือข่าย:LMS
ADDIE Model.
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
Virtual Learning Environment
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จากมุมมองด้านการเรียนการสอน Learning Object : ผศ. ดร. อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา anuchai@gmail.com จากมุมมองด้านการเรียนการสอน

What is Learning Object ?

Learning Object คืออะไร “Any entity, digital or non-digital, that may be used for learning, education or training” IEEE 1481.12.1-2002 “Any digital resource that can be reused to support learning” David A. Wiley “Modular digital resources, uniquely identified and metatagged, that can be used to support learning” National Learning Infrastructure Initiative (now NLII support David Wiley definition)

นิยาม Learning Object Learning object หมายถึง “สื่อดิจิตอลที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้สนับสนุนการเรียนรู้ และสามารถนำมาใช้ใหม่ (ใช้ซ้ำ) ได้” จากนิยามจะเห็นได้ว่า Learning Object มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นสื่อดิจิตอล ใช้สนับสนุนการเรียนรู้ (การศึกษา การฝึกอบรม) นำมาใช้ใหม่ (ใช้ซ้ำ) ได้

Why Learning Object ?

แนวคิดการสร้าง Learning Object สื่อตามแนวคิด Learning Object ลดงบประมาณ ในภาพรวม ลงทุนผลิตสื่อ คุณภาพสูงได้ อาจารย์ใช้เป็นสื่อเสริม ผู้เรียนใช้เป็นแหล่งความรู้เพิ่ม ประชาชนใช้เรียนรู้ตามอัธยาศัย รองรับ U-Learning Next generation learner ใช้งบประมาณสูง ใช้เวลาผลิตมาก การสร้าง สื่อตามแนวคิด แบบเดิม บุคลากร/ทรัพยากร ไม่เพียงพอ ใช้ประโยชน์ ได้จำกัด ตบแต่ง

ลักษณะสำคัญของ Learning Object หน่วยของเนื้อหา(ดิจิตอล) ที่ได้รับการออกแบบตามแนวคิดใหม่ จากหน่วยขนาดใหญ่ เป็นหน่วยขนาดเล็กหลายหน่วย (smaller units of learning) หน่วยเนื้อหาแต่ละหน่วย (LO) มีเนื้อหาสมบูรณ์ในตัวเอง (self-contained) เป็นอิสระจากกัน หน่วยเนื้อหาแต่ละหน่วย (LO) สามารถนำไปใช้ซ้ำ (reusable) ได้ในหลายโอกาส (หลายบทเรียน หลายวิชา) หน่วยเนื้อหาแต่ละหน่วย (LO) สามารถนำมาเชื่อมโยงกันเป็นหน่วยเนื้อหาขนาดใหญ่ขึ้นตามลำดับ (can be aggregated) จนเป็นรายวิชาหรือหลักสูตร สามารถกำหนดข้อมูลอธิบายหน่วยเนื้อหาแต่ละหน่วย (tagged with metadata) เพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นหา

Learning Object

อย่างไร จึงเรียก Learning Object บทเรียนที่มี วัตถุประสงค์ การเรียนรู้ สื่อดิจิตอลต่างๆ สื่อความรู้ “Raw Digital Content/Media” Information Learning Object Objects Audio Procedure Principle Process Text Principle Procedure Objective Concept Process Concept illustration Summary Fact Fact Overview Animation Overview Enabling Objective Summary Simulation

Learning Object

ขนาดของหน่วยเนื้อหา (LO) Unit of Learning CISCO Reusable Learning Object

ความท้าทายในการออกแบบเพื่อให้สามารถ นำบทเรียนมาใช้ใหม่ บทเรียนต้องถูกออกแบบมาให้นำไปใช้ใหม่ได้ (Reusability) เทคนิคของการผลิตบทเรียนต้องเป็นไปตาม มาตรฐาน เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในระบบ จัดการเรียนรู้ (LMS) ตามมาตรฐาน ได้ (Interoperability) เนื้อหาบทเรียนต้องไม่ขึ้นกับบริบท หรือ ระยะเวลา ซึ่งอาจจะทำให้บทเรียนล้าสมัยได้เร็ว หรือนำไปใช้ในสภาพแวดล้อมอื่นๆได้ยาก (Durability) บทเรียนที่ใช้ใหม่ได้ ต้องอยู่ในช่องทางให้ ผู้สนใจสามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ (Accessibility) มาตรฐานบทเรียน Learning Object ที่ ได้รับความนิยมใน ปัจจุบันคือ มาตรฐาน SCORM ศูนย์รวม LO Learning Object Repository มาตรฐาน Meta-data

ทำไมต้องมีมาตรฐานบทเรียน เป้าหมายของการสร้างบทเรียนเพื่อการนำมาใช้ใหม่ คือ การนำบทเรียนไปใช้ ใหม่ในโอกาสต่างๆ (ในบทเรียน รายวิชาอื่นๆ) หากไม่ได้กำหนดมาตรฐานไว้ จะ เป็นปัญหาในการนำบทเรียนไปใช้ในบทเรียน หรือรายวิชาอื่นๆ ขอยกตัวอย่าง ตัวต่อ Lego เราพบว่าตัวต่อ Lego ขนาดเล็กมีรูปทรงที่หลากหลาย แต่มี มาตรฐานของหัวต่อและรูที่เท่ากันทุกตัวต่อ เพื่อให้สามารถนำตัวต่อแต่ละตัว ไป ใช้ใหม่ในการต่อรูปทรงแบบต่างๆได้ หากไม่มีมาตรฐานของหัวต่อและรูแล้ว อาจจะนำตัวต่อ Lego ไปใช้ซ้ำไม่ได้

มาตรฐาน SCORM SCORM (Sharable Content Object Reference Model) คือ มาตรฐานทางเทคนิคของบทเรียนที่จะนำกลับมาใช้ใหม่ พัฒนา โดย ADL (Advance Distribution Lab) ซึ่งรวมเอามาตรฐานที่ที่ดีจากหลายองค์กรมาสร้างเป็นมาตรฐาน SCORM ซึ่งในปัจจุบันเป็นรุ่น SCORM 2004 3rd Edition ทั้งบทเรียน (Learning Object) และระบบจัดการเรียนรู้ (LMS – Learning Management System) จะต้องได้รับการ พัฒนาตามมาตรฐานเทคนิคเดียวกัน (ในที่นี้คือ SCORM) จึงจะสามารถทำงานร่วมกันได้ บทเรียน (Learning Object) ตามมาตรฐาน SCORM จะ นำไปใช้ใหม่ในระบบจัดการความรู้ (LMS) ใดๆที่เป็นไปตาม มาตรฐาน SCORM ได้

Meta-Data ชุดข้อมูลที่อธิบายลักษณะของสิ่งต่างๆ (ในที่นี้ Learning Object) เพื่อความสะดวกในการค้นหา และเรียกใช้ เช่น ชื่อบทเรียน, เจ้าของ, หมวดหมู่เนื้อหา, ระดับชั้นผู้เรียน, ระยะเวลาเรียน ฯลฯ The dominant purpose of learning object metadata is to increase the effectiveness of retrieval systems.

ระบบสนับสนุนการนำ Learning Object มาใช้ในการเรียนการสอน Existing Content Create Content Authoring Tools Repurpose Chunk Assemble Catalog (Metadata) Add Metadata Find This slide explains the content life cycle, especially as promoted by standards bodies, and illustrates the emergence of a new category of product (LCMS) that could be implemented as a stand-alone product or with the aid of a full-blown content repository. LMS Import Track Deliver LCMS and/or REPOSITORY © Eduworks Corporation, 2002

การใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน แหล่งค้นคว้าตามอัธยาศัย (สนับสนุน Student-centered approach, Active Learning) สื่อเสริม สื่อเติมเต็ม หรือสื่อประกอบการสอน

Active Learning Courseware Repositories Repositories Courseware Feedback / Interaction Feedback / Interaction Motivate learner Deliver content - Present content - Probe understanding (provide feedback) - Remedial instruction Elicit Performance (formative assessment) - Assignment Summative Assessment - Test - Evaluation Courseware Repositories Feedback / Interaction Feedback / Interaction

Link repositories (Search through)

การค้นหา Learning Object ในปัจจุบัน Google.com Merlot.org learningobject.ipst.ac.th ค้นหาสื่อการเรียนรู้ที่ต้องการ www.skooolthai.net/ Lornet.org

แนวคิดใหม่ในการเชื่อมโยง Repository เพื่อการค้นหาจากจุดเดียวกัน Google.com Merlot.org Smart Space for Learning learningobject.ipst.ac.th ค้นจากจุดเดียวหลักการ federated search www.skooolthai.net/ dlearn.swu.ac.th

หลักการ federated search Query Language, Schema Transport: SQI Query? Result source target Result format, Schema Meta-data of content SQI: Simple query Interface

Federated search

Ariadne Merlot RDN Pond Smete EdNA Online Gem Voced abcall FedGov SQI Merlot SQI Merlot API RDN SQI ECL SQI Pond Federated Search SQI ECL SQI Smete ECL EdNA Online SQI EdNA Gem SQI EdNA Voced SQI EdNA SQI EdNA abcall SQI EdNA FedGov SQI EducaNext SQI VSQI QEL

Global Learning Objects Brokered Exchange User does a search for Galileo in the GLOBE Federated Search Global Learning Objects Brokered Exchange

ศูนย์กลางสื่อการเรียนรู้แห่งชาติ (National learning object repository) From now.. What should we do ศูนย์กลางสื่อการเรียนรู้แห่งชาติ (National learning object repository) ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการสร้างและพัฒนา สื่อการเรียนรู้ดิจิตอล เพื่อเพิ่มคุณภาพการเรียนรู้

Thailand Learning Resources Repository Projects Promote “Learning Resources Sharing” by Creating “Central Learning Resources Repository” (including courseware, open-source software) สสวท. UNESCO BKK (แหล่งเรียนรู้ดิจิตอล) Thai LRR Nectec SchoolNet MOENet JOCW MIT OCW CORE

Successful Content sharing National cooperation on sharing content - IPST (science-Math) - D-Learn - etc. International cooperation on sharing content - MIT-OCW - NIME-glad - Merlot Quality Content for sharing National policy on Support quality content production and sharing Thai-LIS center academic resources system TCU fund member universities To create quality Content for sharing Successful Content sharing Annual Courseware Contest Benefit from sharing Training teachers and Lecturers to create courseware with Willing to share Content owner perception of sharing encourage sharing Infrastructure for sharing National conference on e-learning And content sharing standard for sharing UniNET TCU-LMS Know how to share Partner with IPST and Australia for developing standard and guideline for quality courseware development Content Repository Development Methodology for courseware development

เพิ่มคุณภาพการเรียนการสอน “Quality Learning Object for Quality Education” เพิ่มคุณภาพการเรียนการสอน การเรียนในชั้นเรียน การเรียนแบบ e-Learning สื่อเสริม สื่อเรียน International Learning Object Repository National Learning Object Repository ชุมชนผู้ปฏิบัติ Community of Practice สื่อคุณภาพ ทัศนคติในการ แบ่งปัน แลกเปลี่ยน ผู้ให้-ผู้ใช้ สื่อหลากหลาย ปริมาณ แรงจูงใจในการ แบ่งปัน แลกเปลี่ยน การสร้างเครือข่าย ความร่วมมือกับ ต่างประเทศ ผู้สร้างสื่อ การประกวดสื่อ วิจัยและพัฒนา เว็บ NLOR วิจัย Meta-Data สำหรับการแลกเปลี่ยน ความรู้-ทักษะใน การสร้างสื่อ วิจัยเกณฑ์คุณภาพสื่อ การวิจัยและพัฒนา วิจัยโมเดล การสร้างสื่อคุณภาพ การสนับสนุน ส่งเสริม การประชา สัมพันธ์ วิจัยและพัฒนา ระบบจัดการเรียนรู้ LMS อบรมความรู้ ทักษะ

กลยุทธ วิธีการ Quality Learning Object for Quality Education การสร้างและใช้ LO พัฒนาสู่รายวิชา E-Learning แลกเปลี่ยน แบ่งปัน สร้างความเข้าใจ ให้ความรู้ในการปฏิบัติ สร้างแรงจูงใจ สนับสนุนเครื่องมือในการทำงาน ให้ตัวอย่างรูปธรรม กลยุทธ พัฒนาโมเดลการออกแบบ LO พัฒนาเกณฑ์คุณภาพ จัดอบรมโมเดลการออกแบบ LO จัดอบรมเครื่องมือสร้าง LO ให้ตัวอย่างรูปแบบ จัดประกวด สร้าง National LO Repository เชื่อมโยง LO คุณภาพจาก ในและต่างประเทศมาให้ใช้ เพิ่มเครื่องมือใน TCU-LMS ให้มหาวิทยาลัยในเครือข่ายเริ่ม share พัฒนาโมเดลการเรียนการสอน พัฒนาระบบประกันคุณภาพ จัดอบรมความรู้ จัดเวทีเผยแพร่การเรียนการสอน ผลักดันกลไกการเทียบโอน ช่วยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ วิธีการ