ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
• เป็นความจริง เชื่อถือได้ • แตกต่างจากความรู้ เดิม • ใช้ประโยชน์ได้ • เหมาะกับบริบทและ ความต้องการ ของสังคม • เป็นสากล • นำไปสู่การพัฒนา หรือต่อยอด.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
กระบวนการวิจัย(Research Process)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัย : ข้อเสนอโครงการวิจัย RESEARCH METHODOLOGY
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การเขียนรายงานการวิจัย
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเลือกหัวข้อโครงงาน.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
โดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง 21 - 22 ธันวาคม 2549

1. ความชัดเจนของปัญหาการวิจัย 1. ความชัดเจนของปัญหาการวิจัย  แสดงความชัดเจนของปัญหา  ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาวิจัย ในปัญหาดังกล่าว  ความน่าสนใจของปัญหาที่ศึกษา

ความชัดเจนของปัญหาการวิจัย (ต่อ)  กำหนดขอบเขตของปัญหา  ข้อตกลงเบื้องต้นและให้คำนิยามเชิง ปฏิบัติการของตัวแปรที่สำคัญ  ศัพท์เฉพาะทั้งหมด

2. การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง 2. การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง มีการประมวลความรู้ในทางทฤษฎี ศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ กำลังศึกษา

การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) แสดงความเชื่อมโยงความรู้ที่ได้ศึกษาวิเคราะห์ ผลงานที่มีอยู่ กับการวิจัยที่กำลังทำ หาแนวทางและวางรูปแบบของการวิจัย ให้ตอบปัญหาที่ตั้งไว้สำหรับการวิจัย

3. แบบแผนของการวิจัย ต้องตอบสนองปัญหาซึ่งตั้งไว้สำหรับการวิจัย 3. แบบแผนของการวิจัย ต้องตอบสนองปัญหาซึ่งตั้งไว้สำหรับการวิจัย งานวิจัยที่มีการตั้งสมมุติฐาน ต้องเป็นไป อย่างถูกต้อง

แบบแผนของการวิจัย (ต่อ) มีรากฐานทางวิชาการจากการประมวลความรู้ในเอกสาร ตำรา และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีนิยามของตัวแปรอย่างชัดเจน สอดคล้องกับปัญหาการวิจัย

4. กลุ่มตัวอย่างและวิธีการสุ่มตัวอย่าง 4. กลุ่มตัวอย่างและวิธีการสุ่มตัวอย่าง ถูกต้องตามหลักวิชาการและเหมาะสมกับปัญหาการวิจัย

5. วิธีดำเนินการวิจัย มีขั้นตอนและวิธีการเหมาะสมต่อเรื่องที่วิจัย

6. การวิเคราะห์ข้อมูล มีความถูกต้องและเหมาะสม 6. การวิเคราะห์ข้อมูล มีความถูกต้องและเหมาะสม ใช้วิธีการทางสถิติ (ถ้ามี) อย่างเหมาะสม ถูกต้อง สามารถทดสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้ได้ รายงานผลการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผล

7. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 7. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ประมวลและตีความ ตลอดจนอภิปรายผลของการวิจัย แสดงความเชื่อมโยงผลของการวิจัยนี้เข้ากับมวลความรู้เดิมที่ศึกษามา

8. การอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 8. การอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล มีรูปแบบการอ้างอิงแหล่งวิชาการที่ถูกต้องตามหลักสากลนิยม มีความสม่ำเสมอในการใช้รูปแบบนั้น

9. ความสำคัญและประโยชน์ของเรื่องที่วิจัย 9. ความสำคัญและประโยชน์ของเรื่องที่วิจัย เรื่องที่ศึกษาวิจัยเป็นเรื่องที่มีคุณค่า และมีประโยชน์ทางด้านวิชาการ สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมได้

สวัสดี