การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล ( File System)
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การเขียนผังงาน.
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Surachai Wachirahatthapong
น.ส.กฤติกา วงศาวณิช นายศุภชัย ตั้งบุญญะศิริ
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
Databases Design Methodology
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
Chapter 2 Database systems Architecture
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
ข้อสังเกตและข้อผิดพลาด ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
System Development Lift Cycle
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
Transaction Processing Systems
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
System Analysis and Design
การเพิ่มผลผลิต Productivity
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
Geographic Information System
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบสารสนเทศ
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การจัดการฐานข้อมูล.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการแก้ปัญหา
Information Technology : IT
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
การสร้างสรรค์บทละคร.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ระบบฐานข้อมูล.
Introduction to Database
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual หนึ่งเช่นเดียงกับโปรแกรมทั่วไป ที่ต้องประกอบด้วย * ข้อมูลนำเข้า (Input) * ผลลัพธ์ (Output) * ส่วนการประมวลผล ( Process ) โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

--------------------- joint data and function design Design document Data requirements Data design --------------------- joint data and function design Data schema Functional requirements Function schema Application requirements High – level application specifications โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Input ในระดับ Conceptual - ความต้องการทางด้านข้อมูล ( Data Requirements) อธิบายถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการจัดเก็บไว้มนฐานข้อมูล และความสัมพันธ์ของข้อมูลที่จะประกอบกันขึ้น โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Functional Requirements - เป็นความต้องการที่อิบายถึงขั้นตอนการทำงานต่างๆ ที่ปรากฏใน ระบบ เช่น การจัดทำใบสั่งซื้อ การสั่งซื้อ รวมทั้งข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละขั้นตอนการทำงาน และการไหลของข้อมูล ( Data Flow ) โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Application Requirements - เป็นความต้องการที่อธิบายถึงการทำงาน ( Operation ) ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับข้อมูลเช่น การป้อนข้อมูลพนักงานใหม่ การปรับเงินเดือนของพนักงาน โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

ผลลัพธ์ ( Output) ที่ได้จากการออกแบบฐานข้อมูล Conceptual Data schema หรือ Conceptual schema เป็น output ที่ใช้อธิบายถึงรายละเอียดทั้งหมดของข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในความต้องการ โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Function schema - เป็น Output ที่ใช้อธิบายถึงฟังค์ชั่น และขั้นตอนการทำงานที่จะปรากฏ อยู่ในระบบสารสนเทศ ( Information ) โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

High – level Application Specification เป็น Output ที่ใช้อธิบายถึงการทำงานต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ ฐานข้อมูล (Data base ) ที่ได้ออกแบบไว้ โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Design Document เป็น Output ที่ใช้อธิบายส่วนเพิ่มเติมของ Output อื่น ๆ * เพื่อประโยชน์ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงความต้องการหรือแก้ไข ปรับปรุงฐานข้อมูล โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Initial Conceptualization -Integration -Restructuring Requirement Analysis Initial Conceptualization -Integration -Restructuring โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

ผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะศึกษาความต้องการอย่างละเอียด Requirement Analysis ผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะศึกษาความต้องการอย่างละเอียด *เพื่อแยกแยะและกำจัดความต้องการที่คุมเครือและไม่จำเป็นต่อการออกแบบทิ้งไป โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Initial Conceptualization ผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะสร้าง Conceptual schema ที่มีโครงสร้างในรูปแบบของ Abstraction อย่างหยาบ ๆ ประกอบด้วย - Entity - Relationship - Generalization ของโครงสร้างหลัก ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายทิศทางในการออกแบบ โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Integration ผู้ออกแบบฐานข้อมูลนำเอาโครงสร้างที่ออกแบบไว้ในขั้นตอน Initial แต่ละส่วนมารวมกัน (Merging) เป็นโครงสร้างที่สมบูรณ์ รวมทั้งกำจัดโครงสร้างที่เกิดความขัดแย้ง(Conflict) โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Restructuring เป็นขั้นตอนปรับปรุง Conceptual schema ที่ได้ ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นเช่นการทำ Normalization โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Refinement การออกแบบในระดับ Conceptual ด้วย E – R Model อาศัยกระบวนการออกแบบลักษณะการทำซ้ำ ที่เริ่มจากกำหนดแบบร่าง( Draft schema) แล้วค่อยปรับเปลี่ยนแบบร่างให้มีความละเอียดสมบูรณ์ เรียกว่า “Refinement” โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการทำ Refinement การแปลงทุกครั้งจะต้องมี Input ที่เป็นโครงสร้างที่เริ่มต้น (Starting schema) และ Output ที่เป็นโครงสร้างที่ได้รับการเปลี่ยนแปลง (Resulting schema) เสมอ โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

2. การแปลงทุกครั้งจะต้องแปลงจากConcept (โครงสร้างE–R Model ณ ขณะใดขณะหนึ่ง)เป็นConceptใหม่ 3. Concept ที่เกิดจากการแปลงทุกครั้ง จะต้องยังคงความสัมพันธ์กับ Concept ในส่วนอื่นๆที่ไม่ถูกแปลงไว้เช่นเดิม โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

จาก E-R Model ที่มี Concept เริ่มต้น Example จาก E-R Model ที่มี Concept เริ่มต้น โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง Live_in Place Person โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

เมื่อ Entity “Place” ถูกขยายความเป็น Concept ใหม่ จะมีรายละเอียดมากขึ้น City Place in State โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง

Concept ที่ขยายความจาก Entity Place ยังคงความสัมพันธ์กับEntity Person เดิม City Live_in Person In State โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันราชภัฏลำปาง