ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การประสานงาน.
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
การบริหารกลุ่มและทีม
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
หลักสูตร ศิลปะการพูดในที่ชุมนุมชน บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
โครงสร้างขององค์การ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
WHAT IS THE PROJECT?.  งานต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อทำให้ วัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงสำเร็จ ลุล่วงภายในเวลาที่กำหนด คุณจะ พัฒนาผลการดำเนินงานได้ด้วย การคิดหางานที่จะช่วยให้บรรลุ
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ กลยุทธ์การบริหารงาน ให้มีประสิทธิภาพ ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ อธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

กลยุทธ์การบริหารสมัยใหม่ 1. การเสริมสร้างภาวะผู้นำ (More Leadership) ความเด็ดขาดในการตัดสินใจ ความรอบคอบในการสั่ง ความหนักแน่นและเที่ยงธรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความรอบรู้

2. การให้คุณค่าการวางแผน (More Planning) การตรวจสอบภารกิจ (Mission) ให้ชัดเจน การตรวจสอบปัญหาและปัจจัยที่เกี่ยวข้องให้รอบด้าน การตรวจสอบอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมที่มีต่อภารกิจทั้งหมด กำหนดวัตถุประสงค์ที่เป็นไปได้และวัดความสำเร็จได้

2. การให้คุณค่าการวางแผน (More Planning) กำหนดมาตรการและทางเลือกที่เหมาะสมในการบรรลุวัตถุประสงค์ ตัดสินใจเลือกมาตรการและทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด กำหนดหน่วยงานรับผิดชอบให้เหมาะสม กำหนดทรัพยากรในการนำแผนไปปฏิบัติให้ครบถ้วนทั้งบุคลากรงบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์และอื่นๆ กำหนดเกณฑ์การประเมินผลในระดับการบรรลุวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน

3. การกำกับอย่างมีประสิทธิภาพ (More Monitoring) หัวหน้าหน่วยทุกระดับต้องกำกับงานให้เป็นไปตามแผน หัวหน้าหน่วยมีหน้าที่ในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติตามแผน หัวหน้าหน่วยต้องปรับแผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ตลอดเวลา การกำกับอย่างใกล้ชิดจะช่วยลดความคลาดเคลื่อนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามแผน การกำกับอย่างใกล้ชิดจะทำให้ผู้ปฏิบัติตระหนักว่างานของตนเป็นงานสำคัญที่ได้รับความสนใจจากหัวหน้ามาก

4. การกระจายอำนาจการบริหาร (More Decentralization) พิจารณาและตัดสินใจเฉพาะเรื่องสำคัญเท่านั้น กระจายอำนาจเกี่ยวกับงานกิจวัตรให้ผู้ใต้บังคับบัญชา แต่ละระดับรับผิดชอบโดยตรง กำหนดให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละระดับมีหน้าที่และความรับผิดชอบให้เหมาะสมกับตำแหน่งของตน

4. การกระจายอำนาจการบริหาร (More Decentralization) การมอบหมายงานพิเศษจะต้องคำนึงถึงความสามารถของผู้ปฏิบัติให้เหมาะสม งานกิจวัตรให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแจ้งเพื่อทราบเท่านั้น งานสำคัญที่ผู้ใต้บังคับบัญชาจะต้องเสนอ เพื่อการตัดสินใจจะต้องกำหนดให้วิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการพิจารณาด้วย

4. การกระจายอำนาจการบริหาร (More Decentralization) จะต้องจัดระบบการควบคุมและกำกับการทำงานขององค์การให้เป็นไปโดยเฉพาะการประเมินผลและการรายงานความคืบหน้า กำหนดให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุกระดับรายงานปัญหาและอุปสรรค พร้อมทั้งข้อเสนอแนะในการแก้ไขอย่างชัดเจน ในทุกโอกาสและทุกกรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคขึ้น

4. การกระจายอำนาจการบริหาร (More Decentralization) ผู้บริหารควรมีเวลาในการพิจารณาภาพรวมขององค์การทั้งระบบและให้เวลาสำหรับการพิจารณาทางเลือกใหม่ๆ ขององค์การ

5. การควบรวมหน่วยงานที่ซ้ำซ้อนเข้า ด้วยกัน (More of the Same) ประหยัดทรัพยากรบุคคล ประหยัดงบประมาณ ใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือเต็มประสิทธิภาพ ลดความขัดแย้ง ก่อให้เกิดเอกภาพ

6. ให้พนักงานมีส่วนร่วมมากขึ้น (More Participation) คำนึงถึงคุณค่าของผู้ร่วมงาน ผู้ร่วมงานแสดงศักย์ภาพได้เต็มที่ สร้างความรับผิดชอบให้แก่ผู้ร่วมงาน กระตุ้นให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้สึกเป็นเจ้าของงานร่วมกัน รู้สึกในความสำเร็จร่วมกัน

7. มุ่งเน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผล (More Efficiency and Effectiveness) ประหยัดทรัพยากร เพิ่มผลผลิต เพิ่มระดับการบรรจุวัตถุประสงค์

8. มุ่งเน้นการประสานงานและความร่วมมือ (More Coordination and Cooperation) สร้างความเข้าใจต่อผู้ร่วมงานภายในองค์การ สร้างความเข้าใจระหว่างองค์การ สร้างความร่วมมือทั้งภายในและระหว่างองค์การ

9. มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (More Information Technology Application) เข้าใจคุณค่าของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการบริหาร สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการบริหารและการจัดการได้เต็มศักยภาพ คำนึงถึงความคุ้มค่าและเหมาะสม

10. มุ่งเน้นคุณค่าของการให้บริการ (More Service Mindedness) ความพอใจของลูกค้าคือความสำเร็จ ต้องพัฒนาสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า

11. มุ่งเน้นการบรรลุเป้าประสงค์ เป็นสำคัญ (More Goal Oriented) ต้องเข้าใจเป้าประสงค์ขององค์การให้ชัดเจน ต้องเข้าใจกลยุทธ์ที่จะบรรลุเป้าประสงค์ ต้องมีความมุ่งมั่นในการบรรลุเป้าประสงค์โดยไม่หวั่นเกรงต่ออุปสรรค

12. การทำงานเป็นทีม (More Teamworking) ทั้งองค์กรต้องเป็นทีมเดียวกัน ทีมย่อยในแต่ละฝ่ายต้องมีเป้าหมายสูงสุดขององค์การอย่างเดียวกัน ผู้นำทีมต้องมีภาวะผู้นำ สมาชิกทีมทุกคนต้องมีความศรัทธาในเป้าหมายร่วม สมาชิกทีมทุกคนต้องมีวัฒนธรรมองค์การอย่างเดียวกัน

13. ต้องรับผิดชอบต่อสังคม (More Public Awareness) ผลประโยชน์ขององค์การต้องไม่เป็นภัยต่อสังคม แบ่งปันผลประโยชน์ขององค์การเพื่อทำนุบำรุง

14. สร้างความเชื่อถือต่อประชาชน (More Trust) ทำให้ประชาชนศรัทธา เชื่อถือในสินค้าและบริการขององค์การ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์การอย่างมั่นคง

The End