ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
Advertisements

โครงงานคอมพิวเตอร์.
สมดุลเคมี.
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
1. สเกลเทอร์โมมิเตอร์ ขั้นตอนการทดลอง น้ำกลั่น
ตัวอย่างกิจกรรมการทดลอง โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
Laboratory in Physical Chemistry II
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การทดลองหาแป้งในยาสีฟัน ( วิทยาศาสตร์ )
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
การทดสอบหาปริมาณแคลเซียมในน้ำดื่ม
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
โปรแกรมประเมิน Carbon Footprint
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ตอนที่ 1 การเตรียมแก๊ส NO2
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
เครื่องม้วนผม.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
************************************************
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน
การจำแนกประเภทของสาร
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ห้องมืด(Dark Room) ห้องที่ใช้ในการทำงานทาง photoใช้สำหรับ การล้างฟิล์ม และอัดขยายภาพห้องมืดใช้ป้องกันแสงเข้าไป ห้องมืด แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ห้อง มืดสำหรับล้างฟิล์ม.
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
1 การผลิตเอทานอลและกรด อินทรีย์ จากลำไยอบแห้ง  นางสาวฐิติพร กัน จันวงศ์  นายณัฐพงษ์ กาละปัน  อ. ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ รหัสโครงการ R50D01001.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว วิธีการทดลอง ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว ไขน้ำประปาใส่ลงในบีกเกอร์พอประมาณ แล้วนำขึ้นตั้งบนแท่นให้ความร้อน ค่อย ๆ เพิ่มอุณหภูมิให้ร้อนขึ้นเรื่อย ๆ สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น

ตอนที่ 2 ของเหลวละลายในของเหลว นำหลอดทดลองขนาดเล็กที่แห้งและสะอาดมา 6 หลอด บรรจุของเหลวตามตาราง 2.1

ต่อจากนั้นค่อยหลดเอทานอลทีละหยดลงในหลอดที่ 1 เขย่าจนครบ 10 หลอด(0 ต่อจากนั้นค่อยหลดเอทานอลทีละหยดลงในหลอดที่ 1 เขย่าจนครบ 10 หลอด(0.5 cm3) สังเกตผลตั้งแต่หยดแรก หยดที่สอง หยดที่ 3 จนครบตามต้องการ หยดกลีเซอรอลทีละหยด เขย่าสังเกตผลในหลอดที่ 2 สังเกตจนครบ 10 หยด ในหลอดที่ 3 – 6 ก็ทำเช่นเดียวกัน การสังเกตผลและบันทึกผล บันทึกลงในตารางตอน 2 ว่า ผสมเป็นเนื้อเดียวกันหรือ แยกชั้น มีอะไรอยู่ข้างบน / ล่าง

ตอนที่ 3 ของแข็งละลายในของเหลว 3.1 ศึกษาค่าการละลายของเกลือตัวอย่าง ชั่งเกลือตัวอย่าง 5.00 กรัม(5.00 – 6.00 กรัม) ใส่ลงในขวดรูปกรวยเติมน้ำกลั่นลงไปประมาณ 10 cm3 เขย่า/อุ่น ให้ของแข็งละลายในน้ำจนอิ่มตัว ปล่อยทิ้งไว้ให้เย็นถึงอุณหภูมิห้อง กรองใส่บีกเกอร์ที่ทราบน้ำหนักแน่นอน แล้วนำไปละเหยน้ำให้หมดจนแห้งสนิท ปล่อยให้บีกเกอร์เกลือนั้นเย็นถึงอุณหภูมิห้อง นำไปชั่งที่เครื่องชั่งเดิม บันทึกผล คำนวณค่าการละลาย (กรัม/100 กรัมน้ำ) ตามรายงานหน้า 3/2 การคำนวณ : คำนึงถึงตัวเลขนัยสำคัญ

รูปที่ 3.1

รูปที่ 3.2

3.3 ผลของตัวถูกละลาย(Solute)ต่อความดันไอของตัวทำละลาย(Solvent) ตัวถูกละลาย อุณหภูมิของสารละลาย (Solute) (solution) น้ำ น้ำ + NaCl น้ำ + ทรายที่สะอาด

คำถาม - ความดันไอส่งผลต่อจุดเดือดอย่างไร - ปริมาณของ solute ที่ละลายอยู่ใน solvent มีผลต่อความดันไอ ทำให้มีผลต่อจุดเดือดอย่างไร