แผนการดำเนินงาน ระยะสั้น II-8 การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
Advertisements

นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
กลุ่ม 3 โรงพยาบาลชุมชนที่มีแพทย์ดำเนินการ
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการดำเนินงาน ระยะสั้น II-8 การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ต้องผ่าน HA 2553 (II-8,II-9.1,9.2,III) II-8 การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ II-9.1 การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับชุมชน II-9.2 การเสริมพลังชุมชน III กระบวนการดูแลผู้ป่วย

แผนการดำเนินงาน ระยะยาว มีระบบดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างครอบคลุม มีระบบสนับสนุนงาน PCU ที่เป็นมาตรฐาน เพิ่มจำนวนผู้รับบริการใน PCU

จุดเน้นในการทำงานเชิงรุก ระบบดูแลโรค เรื้อรังแบบครบวงจร DM/ HT/ TB/ แม่และเด็ก / IT พัฒนาศูนย์เชื่อมโยง เพื่อการดูแลผู้ป่วยระหว่าง รพ.และPCU เครือข่าย

แนวทางการปฏิบัติงาน พยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน ดำเนินงานพัฒนาคลินิก โรคเรื้อรัง ( ใน PCU ) ให้บริการตรวจ รักษา ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ใน PCU (ตาม CPG) การตรวจสุขภาพประจำปี ( yearly check up ) การทำกิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วย /กลุ่มเสี่ยง ค้นหา คัดกรองกลุ่มเสี่ยง สนับสนุนการเยี่ยมบ้านในพื้นที่รับผิดชอบ เยี่ยมผู้ป่วยบนตึก/วางแผนการดูแลต่อเนื่อง วิชาการ / งานกลุ่มงานเวชกรรมสังคม

ศูนย์เชื่อมโยง การดูแลผู้ป่วย PCUเครือข่ายรพ.นครพิงค์

กิจกรรมหลัก พัฒนาระบบเชื่อมโยง การดูแลรักษาผู้ป่วยระหว่าง PCU เครือข่ายและ รพ. คัดกรองผู้ป่วยทั้ง OPD/IPD เพื่อส่งต่อไปรับ การดูแลรักษาที่ PCU ประสานข้อมูลการดูแลผู้ป่วยระหว่างรพ. กับ PCU รวบรวมข้อมูลการดูแลผู้ป่วยระหว่างรพ. กับ PCU

ตัวชี้วัดหลักทีมพยาบาล เวชกรรมสังคม ดำเนินกิจกรรมคลินิกเบาหวานที่ PCU ตามแนวเวชปฏิบัติของสปสช. ดำเนินกิจกรรมคลินิกความดันโลหิตสูงที่ PCU ตามแนวเวชปฏิบัติของสปสช. ร้อยละความสำเร็จของการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน

ตัวชี้วัดหลัก ( ต่อ ) 4.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ส่งกลับได้รับการดูแลต่อเนื่อง 5.อัตราการรักษาโรคเบื้องต้น 6.ร้อยละPCU ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 7.ร้อยละของPCU ที่มีจำนวนผู้ป่วยรับบริการเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์

การจัดทีมสนับสนุนการปฏิบัติงานใน PCU รายชื่อ PCU 1 อุบล กันยา พึงพิศ สะลวง ห้วยทราย สันคะยอม สันป่ายาง 2 ศรีพิงค์ วัชรินทร์ สุกัญญา ต้นเปา สันกลาง สันพระเนตร สันนาเม็ง 3 นภัสกร วาสนา ดารา ริมเหนือ สันโป่ง ดอนตัน วังป้อง 4 สุรภี ชวัลนุช กิรณา แม่สา ขอนตาล ดอนแก้ว บ้านซาง 5 เกศสุดาภรณ์ ละวิวรรณ นวลสกุล หนองจ๊อม บวกหมื้อ ป่าข่อย ท่าหลุก 6 สุพรพรรณ มะลิวัลย์ เกจุรีย์ สันปูเลย ร่ำเปิง ขี้เหล็ก ตลาดขวัญ 7 อวยพร พิมพินันท์ ศูนย์เชื่อมโยง

งานรักษาพยาบาลชุมชน ( HHC ) นาย สมชาย ชื่นสุขอุรา นาง พนิดา มั่นสาธิต นาง ดวงเดือน คงงาม นาง ศรีทุน ขาวแสง นาง ไพรัตน์ เชวงชัยยง

การวางแผนการดูแลต่อเนื่อง การเตรียมผู้ป่วยก่อนจำหน่ายเพื่อการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน การเยี่ยมผู้ป่วยบนตึกเพื่อประสานการดูแลรักษาผู้ป่วย การเยี่ยมผู้ป่วยในพื้นที่ การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อดูแลต่อเนื่องในพื้นที่

ทีมสนับสนุนการดูแลต่อเนื่อง เตรียมประวัติการรักษาจากโรงพยาบาลนครพิงค์ของผู้ป่วย ที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนทีมเยี่ยมบ้าน ประสานทีมสหวิชาชีพ

กลุ่มเป้าหมายในการดูแลสุขภาพที่บ้าน 1. กลุ่มตามระบบโรค - โรคติดต่อ (communicable disease, CD) - โรคไม่ติดต่อ (non-communicable disease, NCD) 2. กลุ่มบุคคล - ผู้สูงอายุ - แม่และเด็ก - ผู้พิการ หรืออวัยวะบางส่วนไม่ทำงาน

ระดับของการดูแลสุขภาพที่บ้าน 1. ระดับสุขภาพพื้นฐาน (Basic health Care) 2. ระดับป่วยหนัก (The intensive level) 3. ระยะพักฟื้น (The intermediate level)

ทีมสุขภาพ 1. แพทย์ 2. พยาบาล 3. นักกายภาพบำบัด/นักอาชีวบำบัด 4. นักโภชนาการ 5. เภสัชกร 6. นักสาธารณสุข/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 7. นักสังคมสงเคราะห์

การดูแลต่อเนื่อง 2 กรณี การดูแลต่อเนื่อง 2 กรณี ส่งต่อ เพื่อ Admit ต่อ ร.พ ชุมชน  ใบ Refer ไม่ผ่าน HHC จำหน่ายกลับบ้าน แต่มีปัญหาต้องดุแลต่อเนื่องต่อที่บ้าน ส่ง HHC - ในเขต อ. แม่ริม เขต รอยต่อ อ. ดอยสะเก็ด อ. แม่แตง อ. สันกำแพง อ. สันทราย อ. เมือง - นอกเขต ส่งต่อ ร.พ ชุมชนเยี่ยม โดยผ่าน HHC ทุกอำเภอ ในจังหวัดเชียงใหม่