โรงพยาบาล เบอร์ 5
คณะกรรมการโรงพยาบาล “เบอร์ 5” ที่ปรึกษา : อาจารย์ทิชาพันธ์ ไกรเกตุ 1
2
นโยบายอนุรักษ์พลังงานของ รพ.เบอร์ 5 ลดการใช้พลังงานทุกประเภท และใช้อย่างเหมาะสม โดยมีเป้าหมายในปี 2555 ลดลง 10% จากปีที่ผ่านมา 1. เป็นโรงพยาบาลที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์พลังงาน (TEA) ภายใน 3 ปี และเป็นที่ศึกษาดูงาน 2. ดำเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย 3. กำหนดแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง โดยไม่กระทบต่องานบริการ 4. โรงพยาบาลมุ่งเน้นให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงานและปฏิบัติตามนโยบายอนุรักษ์พลังงาน 5. 3
ผังพื้นที่รับผิดชอบแผนก WELLNESS. 4
ผังพื้นที่รับผิดชอบแผนกซักรีด 5
ผังพื้นที่รับผิดชอบแผนกซ่อมบำรุง . 6
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 7
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง นโยบายการจัดการพลังงาน มีนโยบายการจัดการพลังงานลงนามโดยผู้บริหารระดับสูง มีการสื่อสารติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ในแผนก เหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย 1. การจัดการองค์กร มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานด้านอนุรักษ์พลังงาน ลงนามโดยผู้บริหารระดับสูง มีการดำเนินงานมีตรวจสอบและวัดผลมีมาตรการที่ชัดเจน 2. การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ ผู้บริหารมีการกระตุ้น ให้พนักงานทุกระดับมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ พลังงาน 3. ระบบข้อมูลและข่าวสาร มีการจัดทำระบบการจัดเก็บเอกสารข้อมูลที่ชัดเจน มีการติดตามประเมินผลการสื่อสาร หาข้อบกพร่องและแก้ไข 4. การประชาสัมพันธ์ มีการกำหนดให้มีการเผยแพร่โครงการอนุรักษ์พลังงาน เป็นส่วนหนึ่งของแผนการ ประชาสัมพันธ์องค์กร เพื่อให้พนักงานทุกระดับรู้คุณค่าของพลังงาน 5. 8
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง ด้านการลงทุน มีการจัดสรรงบประมาณสำหรับการลงทุนและอนุรักษ์พลังงาน 6. 9
ผลสำรวจ : หลอดไฟ ขนาด 14 watt จำนวน 20 หลอด มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : หลอดไฟ ขนาด 14 watt จำนวน 20 หลอด พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 280 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 817.6 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. แก้ไขวงจรใหม่ โดยให้หลอดติดสลับหลอดเว้นหลอด ทำให้ลดปริมาณการใช้พลังงานลง 50 % ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 140 x 8 x 365 ) / 1000 = 408.8 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.45 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 817.6 – 408.8 = 408.8 x 3.45 = 1,410.36 บาท/ปี 10
มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : เครื่องตรวจมวลกระดูก ขนาด 1,500 watt จำนวน 1 เครื่อง พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 1,500 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 12 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 6,570 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า 3.45 บาท/หน่วย คิดเป็นจำนวนเงิน = 22,666.50 บาท/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ลดระยะเวลาการเปิดเครื่องโดยเปลี่ยนจากการเปิด12 ชม. เป็นเปิดก่อนใช้งาน 15 นาที(เฉพาะที่มีการใช้งานเท่านั้น) โดยเฉลี่ยวันละ 5 ครั้ง ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1,500 x 2.5 x 365 ) / 1000 = 1,368.75 หน่วย/ปี = 4,722.18 บาท/ปี ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 22,66.50 – 4,722.18 = 17,944.32 บาท/ปี 11
ผลสำรวจ : ตู้เย็นแช่น้ำมากเกินความจำเป็น 1 ตู้ มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : ตู้เย็นแช่น้ำมากเกินความจำเป็น 1 ตู้ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 30 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 75 % หรือ 22.5 วัตต์ เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 197.1 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. กำหนดรายการและชนิดสิ่งของที่ใช้แช่สูงสุดไว้ 2. ตั้งค่าความเย็นที่เหมาะสมกับสิ่งของที่แช่ในตู้เย็น (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 15 %) 3. เผยแพร่ผลเสีย(อย่างสร้างสรรค์)ที่เกิดขึ้นผ่านสื่อต่างๆใน รพ. ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 4.5 วัตต์ ที่ 15% =39.42 หน่วย/ปี หรือ 136 บาท/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.45 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 680 - 136 = 544 บาท/ปี 12
ผลสำรวจ : แผนกซักรีด มีความร้อนจากกระบวนการทำงาน มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : แผนกซักรีด มีความร้อนจากกระบวนการทำงาน สภาพแวดล้อมในการทำงานไม่เหมาะสม มาตรการด้านเทคนิค พิจารณาเรื่องการลดอุณหภูมิในห้อง ให้อยู่ประมาณ 30 c โดย 1. ติดแอร์ ขนาด 2 ตัน 2. ติดพัดลมไอน้ำ 1. แอร์ ขนาด 2 ตัน ประมาณ 2,000 วัตต์ (2,000 x 14 x 365) /1,000 = 10,220 Kwh/ปี คิดเป็นจำนวนเงิน = 35,259 บาท/ปี เงินลงทุน ประมาณ 30,000 บาท 2. พัดลมไอน้ำ ใช้พลังงานประมาณ 55 วัตต์ (55 x 14 x 365) /1,000 = 281 Kwh/ปี คิดเป็นจำนวนเงิน =969.45 บาท/ปี เงินลงทุน ประมาณ 30,000 บาท ผลประหยัด 35,259 – 969.45 = 34,289.55 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน = 0.87 ปี 13
ผลสำรวจ : กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าขนาด 600 วัตต์ มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าขนาด 600 วัตต์ พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 600 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 12 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 2,628 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ปรับเวลาการต้มน้ำใหม่ โดยใช้ช่วงเช้า ประมาณ 30 นาที ช่วงบ่าย ประมาณ 30 นาที รวมเหลือใช้งานจริง 1 ชม./วัน ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 600 x 1 x 365 ) / 1000 = 219 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.45 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 2,628 – 219 = 2,409 x 3.45 = 8,311 บาท/ปี 14
มาตรการอื่นๆ ผลสำรวจ : แอร์ห้อง MDB เปิดใช้งาน 24 ชม. ของเดิม ไม่ได้ติดตั้งตัวควบคุมอุณหภูมิ ทำให้ทำงานตลอดเวลา พิกัดกำลังไฟฟ้ารวม = 0.75 Kwatt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 26,280 หน่วย/ปี เป็นจำนวนเงิน = 90,666 บาท/ปี มาตรการด้านเทคนิค 1. ติดตั้ง Timer ให้ทำงาน 30 นาที หยุด 30 นาที ทำให้ลดปริมาณการใช้พลังงานลง 50 % ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 0.75 x 12 ) x 365 = 13,140 หน่วย/ปี หรือ 45,333 บาท/ปี ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 90,666 – 45,333 = 45,333 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน = 0.02 ปี หรือ 8 วัน 15
มาตรการอื่นๆ 16
มาตรการอื่นๆ 17
แผนการดำเนินงาน 18
สิ่งที่ได้รับจากการอบรม ทราบแนวทางการบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 1. สามารถจัดการทรัพยากร ในโรงพยาบาลได้อย่างเหมาะสมทั้ง 3ด้าน People ,Process ,Place 2. เรียนรู้กลยุทธการจัดการระบบวิศวกรรม เพื่อการอนุรักษ์พลังงานในโรงพยาบาล 3. ได้ประสบการณ์จากการเรียนรู้โดยตรง ทำให้เกิดความเข้าใจและเกิดแรงบันดาลใจ ในการนำไปพัฒนาต่อที่โรงพยาบาล 4. เกิดเครือข่ายในทีมอนุรักษ์พลังงาน 5. 19
ข้อเสนอแนะ ในการหารอยรั่วการใช้พลังงาน ควรจะเปิดให้บุคคลภายนอกหน่วยงานเข้ามาช่วยในการตามรอย 1. อยากให้ทุกส่วนงาน(รัฐ,เอกชน)นำการอนุรักษ์พลังงานมาใช้ให้เกิดเป็นรูปธรรม 2. ขอ เราควรนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาหน่วยงานของเราและอธิบายให้รู้ถึงการอนุรักษ์พลังงานถึงการประหยัด 3. ควรมีการตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อจะได้หาข้อแก้ไขให้เกิดผลลัพธ์สูงสุด 4. ประหยัดพลังงานวันนี้ เพื่อไม่ต้องพึงพม่าในวันต่อไป 5. 20
โรงพยาบาลเบอร์ 5 ขอบคุณ 21