ชื่อเรื่อง การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่มีผลต่อ พฤติกรรม และความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนในจังหวัดสระบุรี ผู้วีจัย ธนวรรณ นุ่มอยู่ นาย คำประเสีด แก้วมะนี สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา รุ่นที่ 11 รหัสนักศืกษา 55422319120
I วัตถุประสงค์ในการวิจัย 1. เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในจังหวัดสระบุรี 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการกู้เงินกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในจังหวัดสระบุรี 3. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในจังหวัดสระบุรี 4. เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 5. เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองของสมาชิกกองทุน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 6. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการกู้เงินกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมือง
กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมการกู้เงินกองทุนหมู่บ้าน 1. เพศ และชุมชนเมือง 2. อายุ 1. สาเหตุที่กู้เงิน 3. สถานภาพ 2. การใช้เงินตามวัตถุประสงค์ 4. การศึกษา 3. การนำเงินไปประกอบอาชีพ 5. อาชีพ 4. รายได้หลังการกู้เงิน 6. รายได้
ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตด้านประชากร การวิจัยครั้งนี้ได้กำหนดขอบเขตในการวิจัย คือกลุ่มประชากรทั้งเพศชาย เพศหญิง ในเขตจังหวัดสระบุรีที่เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ซึ่งมีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 95,101 คน ที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 7 อำเภอ คือ อำเภอเมืองสระบุรี อำเภอแก่งคอย อำเภอหนองแค อำเภอวิหารแดง อำเภอมวกเหล็ก อำเภอเสาไห้ อำเภอพระพุทธบาทซึ่งมีจำนวนสมาชิก 61,690 คน คิดเป็นกลุ่มตัวอย่าง 400 คน(ซึ่งใน 7 อำเภอจะมีจำนวนสมาชิกกองทุนมากกว่าอำเภออื่น ๆ เพื่อการศึกษาจะได้มีความแตกต่าง)
บทที่ 2 เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1 ข้อมูลกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 1.1 นโยบายกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 1.2 ประวัติการดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองจังหวัดสระบุรี 1.3 ระเบียบกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองจังหวัดสระบุรี 1.4 ข้อมูลเกี่ยวกับจังหวัดสระบุรี 2. แนวคิดที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการ 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ 2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เงิน
3. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3. 1 ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการ 3 3. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการ 3.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 4. วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 5 แหล่งที่มาของกองทุน 5.1กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้ 5.2 เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้หรือเงินที่ได้จากงบประมาณ รายจ่ายประจำปี 5.3เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู ้บริจาคหรือมอบให้แก่กองทุน 5.4ดอกผลหรือผลประโยชน์ที่เกิดจากเงินกองทุน
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ศึกษาในการวิจัย คือ ประชาชนที่เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในจังหวัดสระบุรี ซึ่งมีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 95,101 คน ที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 7 อำเภอ คือ อำเภอเมืองสระบุรี อำเภอแก่งคอย อำเภอหนองแค อำเภอวิหารแดง อำเภอมวกเหล็ก อำเภอเสาไห้ อำเภอพระพุทธบาท ซึ่งมีจำนวนสมาชิก 61,690 คน คิดเป็นกลุ่มตัวอย่าง 400 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง ขนาดของกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้ คำนวณโดยหลักการคำนวณของ Taro Yamane’s (จิราภา แสนเกษม และคณะ. 2545 : 82-83) กำหนดให้มีความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างที่ยอมให้เกิด 0.05 หรือ ร้อยละ 5 ดังสูตรต่อไปนี้ N n = 1 + Ne2 n = ขนาดของจำนวนตัวอย่าง N = จำนวนรวมทั้งหมดของประชากรที่ใช้ในการศึกษา E = ความผิดพลาดที่ยอมรับได้ ( = 0.05)
แทนค่าสมาชิกกองทุนในเขตจังหวัดสระบุรี 95,101 = 1 + [95,101(0 แทนค่าสมาชิกกองทุนในเขตจังหวัดสระบุรี 95,101 = 1 + [95,101(0.05)2] = 398.32 คน
ລ ຂອບໃຈ ຫຼາຍໆ