มาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรม กับการสร้างความโปร่งใส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
Advertisements

(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
การเทียบตำแหน่ง.
บทเรียนโปรแกรม Power Point
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
แนวทางการลงโทษวินัย ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การจัดทำจรรยาข้าราชการ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
การส่งเสริมจรรยาบรรณ ในระดับคณะ/หน่วยงาน
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จริยธรรม จริยธรรม หมายถึง กิริยาหรือความประพฤติที่ดี ที่เป็นธรรม ที่ถูกต้อง เป็นการกระทำความดี เป็นการกระทำที่ทำให้ผู้กระทำและผู้อื่นได้ประโยชน์โดยเสมอภาคซึ่งกันและกัน.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
กระบวนทัศน์และคุณลักษณะ ธัญญารัตน์ พฤนท์พิตรทาน
Integrity and Transparency Assessment Part 1 การประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ภาค1)
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
ผู้บริหารพบนักเรียน.
การระดมสมอง Brainstroming.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
มาตรการการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
จรรยาบรรณและการเสริมสร้างมาตรฐาน ทางคุณธรรม จริยธรรมและการเป็น
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
กรอบคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๐-๑๑
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
การเขียนโครงการ.
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรม กับการสร้างความโปร่งใส มาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรม กับการสร้างความโปร่งใส

มาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรม

Transparency International Corruption Perceptions Index 2006 Rank Country CPI2006 Score 1 Iceland 9.6 4 Denmark 9.5 5 Singapore 9.4 6 Switzerland 9.1 11 United Kingdom 8.6 15 Hong Kong 8.3 17 Japan 7.6 32 Bhutan 6.0 41 Hungary 5.2 42 South Korea 5.1 44 Malaysia 5.0 Rank Country CPI2006 Score 45 Italy 4.9 51 South Africa 4.6 55 Namibia 4.1 61 Poland 3.7 63 Thailand 3.6 70 Brazil 3.3 93 Argentina 2.9 111 Laos 2.6 121 Philippines 2.5 130 Ethiopia 2.4 16. Myanmar 1.9 10 = Highly clean 0 = Highly corrupt Transparency International

The Corruption Perception Index (CPI) by TI THAILAND’s Rank year CPI rank Coverage (countries) 1996 3.06 39 52 1997 3.33 37 54 1998 3.00 61 85 1999 3.20 68 99 2000 98 2001 91 2002 64 102 2003 3.30 70 133 2004 3.36 145 2005 3.38 59 158 2006 3.6 63 163 10 Points = Most Transparent 0 Point = Most Corruption

มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง สิ่งที่ถือเอาเป็นหลักสำหรับเทียบทางสภาพคุณงามความดี ทั้งที่อยู่ภายในจิตใจและที่แสดงออกที่ควรประพฤติในสังคมนั้น ได้ยอมรับนับถือกันมา หรือได้กำหนดร่วมกันขึ้นมาใหม่ และประพฤติปฏิบัติร่วมกันยอมรับว่าอะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ

วัตถุประสงค์และความสำคัญของการส่งเสริมจริยธรรม 1. เพื่อสร้างความเชื่อถือ(trust)ทั้งแก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน และแก่ผู้ติดต่อ/ขอรับบริการ ประชาชนทั่วไป 2. การมีคุณธรรมเป็นปัจจัยหลักที่แสดงให้เห็นถึงคุณภาพของระบบราชการ 3. เพื่อป้องกันการใช้อำนาจผูกขาดหรือการใช้ดุลพินิจซึ่งเป็นปัจจัยหลัก ที่นำไปสู่การคอร์รัปชั่น 4. เพื่อให้มีระบบตรวจสอบและคานอำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 5. เพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในหน่วยงาน ได้แก่ การเคารพในศักดิ์ศรี (dignity) และชื่อเสียง(prestige) ของหน่วยงานและความเป็นข้าราชการ/ เจ้าหน้าที่ของรัฐ

หลักการสร้างมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ เปิดโอกาสให้มีการแสดงความคิดเห็น สั้น กระชับเข้าใจง่าย ต้องเขียนเป็นเชิงพฤติกรรม กำหนดเป็นข้อพึงปฏิบัติและอยู่ในวิสัยที่ทำได้ ไม่ควรซ้ำกับแนวทางปฏิบัติที่ระบุไว้แล้วในวินัยและจรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน

ขั้นตอนการสร้างจรรยาบรรณ/มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม เริ่มต้นจากผู้บริหาร มีการปรึกษาหารือร่วมกัน เห็นชอบยอมรับเป็นกติกา สร้างความรู้ความเข้าใจให้ทราบทั่วกัน ดูแลให้ยึดถือปฏิบัติยึดถือ / ติดตามประเมินผล มีการดำเนินการเมื่อมีผู้ร้องเรียนหรือมีการละเมิด

จรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือนไทย จรรยาบรรณต่อตนเอง ๑. เป็นผู้มีศีลธรรม และประพฤติตนเหมาะสม ๒. ซื่อสัตย์ ๓. มีทัศนคติที่ดีและพัฒนาตนเอง จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน ๔. สุจริต เสมอภาค ปราศจากอคติ ๕. ทำงานเต็มความสามารถ รวดเร็ว ขยัน ถูกต้อง ๖. ตรงต่อเวลา ๗. ดูแล รักษา และใช้ทรัพย์สินของทางราชการอย่าง ประหยัด

จรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือนไทย จรรยาบรรณต่อผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงาน ๘. ร่วมมือ ช่วยเหลือ แนะนำและทำงานเป็นทีม ๙. เอาใจใส่ดูแลลูกน้อง ๑๐. สร้างความสามัคคีในการปฏิบัติงาน ๑๑. สุภาพ มีน้ำใจ มีมนุษยสัมพันธ์ ๑๒. ละเว้นการนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตน จรรยาบรรณต่อประชาชนและสังคม ๑๓. ให้ความเป็นธรรม เอื้อเฟื้อ มีน้ำใจ สุภาพอ่อนโยน ๑๔. ประพฤติตนให้เป็นที่เชื่อถือแก่บุคคลทั่วไป ๑๕. ละเว้นการรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งมีมูลค่า เกินปกติวิสัยจากผู้มาติดต่อราชการ

ค่านิยม สร้างสรรค์ ๑. กล้ายืนหยัด ๒. ซื่อสัตย์และ ทำในสิ่งที่ถูกต้อง มีความรับผิดชอบ ๑. กล้ายืนหยัด ทำในสิ่งที่ถูกต้อง ค่านิยม สร้างสรรค์ ๕. มุ่งผล สัมฤทธิ์ของงาน ๓. โปร่งใส ตรวจสอบได้ ๔. ไม่เลือก ปฏิบัติ

ร่างมาตรา ๘๐ : ต้องกระทำการ (๑) ซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ ฯ ตั้งใจ อุตสาหะ เอาใจใส่ รักษาประโยชน์ของทางราชการ ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการ โดยชอบ ต้องอุทิศเวลาให้ราชการ ต้องรักษาความลับของทางราชการ ต้องสุภาพเรียบร้อย สามัคคี ช่วยเหลือกัน

ร่างมาตรา ๘๐ : ต้องกระทำการ ต้องต้อนรับ ให้ความสะดวก ความเป็นธรรมฯ แก่ประชาชน (๙) ต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง ต้องรักษาซื่อเสียงของตน ตำแหน่งหน้าที่ราชการมิ ให้เสื่อมเสีย (๑๑) กระทำการอื่นใดตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.

ร่างมาตรา ๘๑ : ต้องไม่กระทำการ ไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา ไม่กระทำการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน ไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยตำแหน่งหน้าที่ของตนหาประโยชน์ ไม่กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการหาผลประโยชน์ทำให้เสียความเที่ยงธรรม ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการฯ

ร่างมาตรา ๘๑ : ต้องไม่กระทำการ ไม่กลั่นแกล้ง กดขี่ หรือข่มเหงกันในการปฏิบัติราชการ ไม่การล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ ต้องไม่ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหงประชาชนผู้ติดต่อราชการ ไม่กระทำการอื่นใดตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.