ยินดีต้อนรับ ด้วยความยินดียิ่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่งเสริมการรักการอ่าน...
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ผู้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ ระดับประถมศึกษาที่ ๓-๔
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
4.จัดทำรูปเล่มงานเขียนวรรณกรรมวันเด็กแห่งชาติให้สวยงาม 1 ชั่วโมง
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมิน
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
โรงเรียนอนุบาลหมู่บ้านเด็ก สานรัก
ข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มเด็กปฐมวัย ๐ – ๓ ปี
แนวคิด ในการส่งเสริมการอ่าน
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
 การสอนแบบอภิปราย.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 6 การส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศและ
มอบโลกใบใหม่ แห่งการเรียนรู้แก่ผู้สูงวัย
“สร้างห้องสมุดเพื่อน้อง”
บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.
SET CORNER : 5th Oct SET CORNER : 5th Oct 2005.
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
แนวทางการพัฒนางาน บริการชุมชนและส่งเสริมการใช้บริการ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
๑. การพัฒนาบุคลากร. ๑. การพัฒนาบุคลากร ๑. การแต่งกายบุคลิกลักษณะท่าทาง -การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
แนวทางการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ถวายเป็นพุทธบูชา (ฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ธรรม)
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
โครงการพัฒนา ห้องเรียนในฝัน
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ครั้งที่ ๒.
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
แผนการจัดการเรียนรู้
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
การทัศนศึกษา.
ขอบเขตของการพัฒนา ทรัพยากรสารสนเทศ การเลือกทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินคุณค่าทรัพยากร สารสนเทศ การศึกษาปริมาณของ ทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยินดีต้อนรับ ด้วยความยินดียิ่ง การอบรมปฏิบัติกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดอัตโนมัติ ด้วยความยินดียิ่ง

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต ๒ การดำเนินงานห้องสมุดมีชีวิตและห้องสมุด ๓ ดี โรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต ๒ เจตนารมณ์กระทรวงศึกษาธิการ ปี ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑ เป็นปี “ทศวรรษแห่งการอ่านแห่งชาติ” ห้องสมุด ๓ ดี “ปัจจัยหนุนนำสู่ศตวรรษแห่งการอ่านแห่งชาติ”

วัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับคุณภาพห้องสมุดในโรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิ เพื่อจัดให้มีหนังสือและสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและเพียงพอ ต่อความต้องการเหมาะสมกับนักเรียน ครู ผู้บริหาร และคนในชุมชน เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อม และจัดบรรยากาศในห้องสมุด ที่เอื้อต่อการอ่านและการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาบรรณารักษ์ หรือผู้ที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ ในโรงเรียน

วิสัยทัศน์ ภายในปี ๒๕๖๑ โรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิ พัฒนา ห้องสมุดโรงเรียนให้เป็นห้องสมุด ๓ ดี คือหนังสือดี สื่อดี บรรยากาศดี และบรรณารักษ์ดี นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน รู้จักแสวงหาความรู้จากห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย มีห้องสมุดที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน

ห้องสมุดเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน บทบาทของห้องสมุด เพื่อการศึกษาค้นคว้า ห้องสมุดเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน เพื่อบริการทางวิชาการ เพื่อข่าวสารข้อมูล เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน

กิจกรรมห้องสมุด กิจกรรมส่งเสริมความรู้เรื่องการใช้ห้องสมุด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน กิจกรรมส่งเสริมความรู้ทั่วไปการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การฉายวิดีทัศน์ การอภิปราย การสนทนา ฯลฯ นำชมห้องสมุด แนะนำการดูแล รักษาหนังสือ ฯลฯ การเล่านิทาน การเสนอหนังสือ การตอบปัญหา จากหนังสือ ฯลฯ การจัดนิทรรศการ การตอบปัญหา การแข่งขัน การประกวด ฯลฯ

ระเบียบ การให้บริการห้องสมุดโรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิ ระเบียบ การให้บริการห้องสมุดโรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิ เวลาทำการ  วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา ๐๗.๑๕ – ๑๖.๓๐ น เวลาบริการ   ก่อนเข้าแถว (เช้า)  พักกลางวัน - หลังเลิกเรียน

บริการต่างๆ ของห้องสมุด บริการอินเตอร์เน็ต บริการยืม - คืน บริการตอบคำถามเพื่อการค้นคว้า บริการจองหนังสือ บริการโสตทัศนูปกรณ์ห้องสมุด บริการห้องสมุดเคลื่อนที่ (หนังสือเดินเท้า เรื่องเล่าเดินทาง) บริการการอ่าน

ระบบการให้บริการ ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรม สถิติผู้ใช้ห้องสมุด สถิติการยืมหนังสือ (ทะเบียนรับ – ส่ง) โดยใช้ โปรแกรม PLS บัตรสมาชิก

การจัดหมวดหมู่หนังสือ - จัดแบบทศนิยมของดิวอี้

ปฏิทินปฏิบัติกิจกรรมประจำวัน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ M.S. Library กิจกรรม วัน / เวลา หมายเหตุ -หนังสือเดินเท้า เรื่องเล่าเดินทาง (M.S. Mobile Library ๑๒.๐๐ – ๑๒.๔๕ ทุกวัน -กระเช้าความรู้สู่ชุมชน ๑๖.๐๐ – ๑๗.๐๐ -ลับสมอง ประลองปัญญา สรรหาหนูน้อยนักเล่า ทุกวันพุธ -กิจกรรม ค คนค้นคำ สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง -ท่องเที่ยวไทยไปกับคำขวัญ -กิจกรรมเรียนรู้ผ่านเลนส์ ทุกวันพฤหัสบดี -เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ๑ วัน กับ M.S. Library ทุกวันศุกร์ -อ่านหนังสือวันละหน้า พาปัญญาไกล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทุกคน ทุกวัน

กิจกรรมห้องสมุดโรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิ กิจกรรมหนังสือเดินเท้า เรื่องเล่าเดินทาง หรือห้องสมุดมีชีวิตเคลื่อนที่ (M.S. Mobile Library)

ลักษณะของกิจกรรม เป็นกิจกรรมที่สร้างทัศนคติ และกระตุ้นความสนใจในการอ่าน สำหรับกลุ่มเป้าหมาย คือนักเรียนที่ไม่สะดวกที่เข้าไปใช้บริการห้องสมุด หรือที่อยู่ห่างไกลห้องสมุด ด้วยการจำลองห้องสมุดเคลื่อนที่ โดยนำหนังสือและสื่อที่คัดสรรกลั่นกรองจากห้องสมุดมีชีวิตมาบริการให้นักเรียนได้อ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเรียนรู้

วัตถุประสงค์ของกิจกรรม ๑. เพื่อให้บริการด้านการอ่านแก่นักเรียนนอกเหนือ จากการอ่านในห้องสมุดและมีสิ่งพิมพ์อยู่ใกล้ ตัวนักเรียน ๒. เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๓. เพื่อให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน

สถานที่ - ศาลาเฉลิมพระเกียรติ ศาลาอนุสรณ์ หอประชุมโรงเรียน

เวลาในการปฏิบัติกิจกรรม เวลา ๑๒.๐๐ น. – ๑๒.๔๕ น. ทุกวัน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. นักเรียนได้อ่านหนังสืออย่างทั่วถึง อ่านเป็นประจำ ทุกวัน ทุกคน ๒. นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๓. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น

กิจกรรมกระเช้าความรู้สู่ชุมชน ลักษณะของกิจกรรม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการอ่านสำหรับชุมชน และผู้ปกครองนักเรียนที่มาใช้บริการในระหว่างที่มารอรับบุตรหลานเป็นการบริการด้านการอ่านเคลื่อนที่โดยการจัดหนังสือใส่ตะกร้าไว้บริการตามจุดต่างๆ พร้อมแบบบันทึกการใช้บริการ

วัตถุประสงค์ของกิจกรรม ๑. เพื่อให้บริการด้านการอ่านแก่นักเรียน ผู้ปกครองนอกเหนือ จากการอ่านในห้องสมุดและมีสิ่งพิมพ์อยู่ใกล้ตัวนักเรียน ๒. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๓. เพื่อให้ผู้อ่านนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

เวลาในการปฏิบัติกิจกรรม สถานที่ จุดเรียนพิเศษของนักเรียนตามที่กำหนด เวลาในการปฏิบัติกิจกรรม เวลา ๑๖.๐๐ น. – ๑๗.๐๐ น. ทุกวัน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. นักเรียน / ผู้ปกครองได้อ่านหนังสืออย่างทั่วถึง อ่านเป็นประจำ ทุกวัน ทุกคน ๒. นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๓. นักเรียน/ ผู้ปกครอง ได้นำความรู้ไปประยุกต์ใช้

กิจกรรมลับสมองประลองปัญญา สรรหาหนูน้อยนักเล่านิทาน ครั้งที่ ๒ กิจกรรมลับสมองประลองปัญญา สรรหาหนูน้อยนักเล่านิทาน ครั้งที่ ๒ ลักษณะของกิจกรรม กิจกรรมการเล่านิทาน คือการเล่าเรื่อง โดยใช้หนังสือภาพ หนังสือนิทาน หุ่นต่าง ๆ เช่น หุ่นมือ หุ่นถุง หุ่นนิ้วมือ หุ่นชัก หรือแสดงท่าทางประกอบการเล่าเรื่องเพื่อให้เด็กได้ฟัง สนทนา โต้ตอบ อภิปราย ซักถาม แสดงข้อคิดเห็น และสามารถให้เด็กแสดงท่าทางประกอบเรื่องราว โดยกิจกรรมนี้ได้จัดขึ้นที่ห้องสมุดสัปดาห์ละ ๑ วัน เพื่อสรรหานักเล่านิทานยอดเยี่ยมรับรางวัลประจำเดือน

วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเล่านิทาน ๑. โดยธรรมชาติเด็กชอบฟังนิทานมาก กิจกรรมการเล่านิทานจึงสนองความต้องการทางธรรมชาติของเด็ก ๒. เพื่อให้เด็กผ่อนคลายอารมณ์เครียด สนุกสนาน เพลิดเพลิน ๓. ยืดช่วงความสนใจ ฝึกสมาธิ ฝึกด้านการฟัง ๔. ส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ๕. เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวที่เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย ๖. เพื่อส่งเสริมทักษะด้านสังคม ๗. เพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมการเล่านิทาน ธรรมชาติของเด็กชอบฟังนิทาน เมื่อเด็กรู้ว่ามีผู้จะเล่านิทาน เด็กจะมีความกระตือรือร้นอยากฟัง

รูปแบบการเล่านิทาน ๑. อ่านจากหนังสือนิทานโดยตรง ๒. ใช้หุ่นต่าง ๆ เช่น หุ่นมือ หุ่นถุง หุ่นนิ้วมือ หุ่นชัก ๓. ใช้แผ่นภาพประกอบหรือใช้ภาพพลิก

กิจกรรม ค คน ค้นคำ   เป็นกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในลักษณะการแข่งขันตอบปัญหาเกี่ยวกับ สุภาษิตไทย ลักษณะของกิจกรรม จะทำการแข่งขันเป็นทีม ทีมละ ๒  คน โดยแต่ละทีมจะมีกระดาษคำตอบกิจกรรมทีมละ ๒  แผ่น  ในการแข่งขันพิธีกร ๒ คน จะนำแผ่นป้ายสุภาษิต และป้ายคำใบ เกี่ยวกับสุภาษิตชูขึ้น แล้วให้แต่ละทีมช่วยกันตอบลงในกระดาษคำตอบว่าเป็นสุภาษิตใดและมีความหมายว่าอย่างไร โดยแต่ละคำจะให้เวลา ๒ นาที/คำ  เมื่อครบทั้ง ๒๐ ภาพ  กรรมการก็จะรวบรวมและให้คะแนน

จุดประสงค์ของกิจกรรม ๑. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักสุภาษิตไทย ๒. เพื่อให้นักเรียนได้แสดงทักษะและความสามารถ ด้านความคิด  ๓. เพื่อเป็นการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านให้กับนักเรียน

กิจกรรมท่องเที่ยวไทยไปกับคำขวัญ ลักษณะของกิจกรรม เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนที่สมัครเข้าร่วมแข่งขัน เป็นทีม ๆละ ๒ คน ร่วมตอบคำถามเกี่ยวกับคำขวัญของจังหวัดต่างๆ โดยคณะกรรมการจะทำการจับฉลากเกี่ยวกับคำขวัญของจังหวัดต่างๆ แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบ ว่าเป็นคำขวัญของจังหวัดใด

วัตถุประสงค์ของกิจกรรม ๑. เพื่อต้องการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านให้กับนักเรียน ๒. เพื่อต้องการให้นักเรียนทราบคำขวัญของจังหวัดต่างๆ ๓. เพื่อความสนุกสนาน ๔. เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

อุปกรณ์ สถานที่จัดกิจกรรม ป้ายคำขวัญจังหวัดต่างๆ ห้องสมุดโรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิ ระยะเวลาที่จัดกิจกรรม เวลา ๑๒.๐๐ น. – ๑๒.๔๕ น. ทุกวัน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับคำขวัญของจังหวัดต่างๆ นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นักเรียนได้รับความสนุกสนาน

กิจกรรมเรียนรู้ผ่านเลนส์ ลักษณะของกิจกรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านภาพยนตร์ และการเรียนรู้การดูภาพยนตร์อย่างสร้างสรรค์ มีความเข้าใจถึงศิลปะ และสาระที่แฝงในภาพยนตร์ และการทำความเข้าใจจุดเด่นของภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัลต่างๆ

วัตถุประสงค์ของกิจกรรม นักเรียนได้เรียนรู้สาระความรู้จากการดูภาพยนตร์ นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์จากสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง สถานที่ ห้องสมุดโรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิ เวลาในการปฏิบัติกิจกรรม เวลา ๑๒.๐๐ น. – ๑๒.๔๕ น. ทุกวันพฤหัสบดี

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. นักเรียนได้รับความรู้จากการดูภาพยนตร์ ๒. นักเรียนเรียนรู้อย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน ๓. นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

กิจกรรมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ๑ วัน ที่ M.S. Library ลักษณะของกิจกรรม เป็นหนึ่งในกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการแสวงหา ความรู้ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เข้ามาแสวงหา ประสบการณ์ร่วมกันในการเรียนรู้นอกห้องเรียน และ จุดประกายนิสัยรักการอ่านด้วยกิจกรรมที่สร้างความสนใจ ในหนังสือ และการผสมผสานกิจกรรม มัลติมีเดียและไอที ใช้คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต เพื่อการแสวงหาความรู้ ความสนุกสนาน และการพัฒนาทักษะอย่างสร้างสรรค์ โดยมีกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมายทั้งเด็กเล็กที่เริ่มหัด ใช้คอมพิวเตอร์ เยาวชน และผู้ปกครอง เป็นเวลา ๑ วัน

วัตถุประสงค์ของกิจกรรม นักเรียนรู้จักแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะที่สร้างสรรค์ สถานที่ ห้องสมุดโรงเรียน เวลาในการปฏิบัติกิจกรรม เวลา ๑๒.๐๐ น. – ๑๒.๔๕ น. ทุกวันศุกร์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนรู้จักแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย นักเรียนมีทักษะความคิดที่สร้างสรรค์

กิจกรรมอ่านหนังสือวันละหน้าพาปัญญาไกล ลักษณะของกิจกรรม ใช้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทุกคนได้ร่วม กิจกรรมการอ่านหนังสือวันละหน้า พาปัญญาไกล ทั้งที่บ้าน และที่โรงเรียนเพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและ แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา อีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้นักเรียน รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยได้จัดทำแบบบันทึกการอ่าน ที่เหมาะสมกับวัยให้กับนักเรียนทุกคนโดยขอความร่วมมือกับ ผู้ปกครองให้นักเรียนได้ฝึกอ่านหนังสือจากบ้านแล้วเซ็นรับรอง การอ่านในแบบบันทึกการอ่านมาส่งนักเรียนทุกวัน เพื่อจะได้หา แนวทางพัฒนาการอ่านของนักเรียนให้ต่อเนื่องต่อไป

วัตถุประสงค์ของกิจกรรม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทุกคนได้อ่านหนังสือ อย่างน้อยวันละหน้า ผู้ปกครองนักเรียนได้มีส่วนร่วมกับการอ่านของนักเรียน เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน สถานที่จัดกิจกรรม ที่บ้านและที่โรงเรียน

ระยะเวลา หลังเลิกเรียนทุกวัน ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทุกคนได้อ่านหนังสือ ทุกวัน อย่างน้อยวันละ ๑ หน้า โดยผู้ปกครองได้มีส่วนร่วม ในการอ่านของนักเรียนโดยการเซ็นชื่อเพื่อรับรอง การอ่านของนักเรียนทุกวัน ๓. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน ๔. นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านออก – เขียนได้ตามวัย

ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานของโครงการ นักเรียนโรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิมีนิสัยรักการอ่านและ การแสวงหาความรู้ โรงเรียนเมืองใหม่สุวรรณภูมิได้ห้องสมุดที่ได้มาตรฐานตาม เกณฑ์มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน นักเรียนได้ร่วมกิจกรรมอย่างทั่วถึง นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามปฏิทินปฏิบัติกิจกรรม

สวัสดีค่ะ