ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Advertisements

การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
สื่อประกอบการเรียนรู้
กิจกรรม Rating Game.
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
NAVY WATER BED 2012.
เรื่องการฟุ้งกระจายของสารเคมีในอากาศ
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
โครงการ ตรวจเช็คเพื่อความปลอดภัย
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
Object-Oriented Analysis and Design
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
ระบบประสาท (Nervous System)
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนและการดำเนินงาน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
SCC : Suthida Chaichomchuen
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
(Organizational Behaviors)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
ห้องฉุกเฉิน 4 : ปอดจ๋า ห้องฉุกเฉิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: ปอดจ๋า.
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
เรื่อง อันตรายของเสียง
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
ซ่อมเสียง.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
หลักนิเทศศาสตร์ (Principles of Communication Art) FCA1101
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
โลกเสมือนจริง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 โอ๊ย...ปวดหัว

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว จุดประสงค์การเรียนรู้ ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว จุดประสงค์การเรียนรู้ ระบุส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาทของมนุษย์ อธิบายความแตกต่างของพฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดและ พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ยกตัวอย่างพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ที่ตอบสนอง ภายในและภายนอกร่างกาย วิเคราะห์ผลของพฤติกรรมบางอย่างที่มีผลต่อการ ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต 2

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Engage ภาพผู้ป่วย ภาพการเกิดอุบัติเหตุ คนล้มหัวฟาดพื้น ซึ่งเกิดขึ้นนอกห้องฉุกเฉิน การหกล้มของผู้ชายคนนี้..ทำให้เขามีแผลถลอกที่ศีรษะเล็กน้อย แต่มีอาการปวดหัวอย่างรุนแรง และขาไม่มีแรง 3

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว เกิดเหตุฉุกเฉิน!!! Engage ผู้ป่วย กลุ่มนักศึกษาแพทย์ เป็นภาพที่สถานการณ์ที่สืบเนื่องมาจาก หน้าที่ 3 และกลุ่มนักศึกษาแพทย์มาพบ และทำการสอบถามอาการพร้อมที่จะปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยจะทำการโยงเข้ากิจกรรมเร้าความสนใจ คือ ร้องเพลงทดสอบการตอบสนองของตนเอง ผู้ป่วยไม่มีแผล แต่มีอาการปวดหัวรุนแรงขนาดนี้ พวกเราต้องช่วยกันคิดแล้วล่ะว่า จะทำการทดสอบระบบระบบประสาทและการตอบสนองของผู้ป่วยกันยังไงดี 4

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Engage ภาพกลุ่มนักศึกษาแพทย์ เราลองมาทดสอบเบื้องต้นกันก่อนนะคะ โอ้เจ้าดอกลั่นทม.. ฉันเคยเด็ดดม ฉันเคยเด็ดเล่น เด็ดเช้า เด็ดเย็น ฉันเคย เด็ดเล่น เด็ดดม เด็ดดม ทำกิจกรรมเร้าความสนใจ คือ ร้องเพลง เจ้าดอกลั่นทม(invert) โดยทำท่าประกอบตามเพลง พร้อมทำท่าประกอบปกติและท่าที่ invert ผกผันกับท่าทางปกติ 5

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Explore I เมื่อทำการตรวจสอบเบื้องต้นกันแล้ว ต่อไปเราจะทำการตรวจสอบระบบประสาทซึ่งเรามีอุปกรณ์ให้ดังนี้ค่ะ กลุ่มนักศึกษาแพทย์ นักเรียนเตรียมพร้อมในการที่จะทำกิจกรรมที่ 5.1 เพื่อตรวจสอบระบบประสาทซึ่งรายละเอียดอยู่ในใบกิจกรรม ss1 SS1 6

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Explain I เมื่อตรวจสอบการรับรู้ของอวัยวะรับสัมผัสเรียบร้อยแล้ว ขณะทำการตรวจสอบ พวกเธอสามารถตอบสนองต่อวัตถุต่างๆได้อย่างไร มีอวัยวะส่วนใดที่เป็นศูนย์กลางการสั่งการและทำให้เกิดการตอบสนองนั้นได้ การตอบสนองต่อวัตถุของแต่ละคน เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร SS1 7

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว นี่คือ..อวัยวะรับสัมผัสที่พวกเธอได้ใช้ในการทำกิจกรรมที่ผ่านมา Explain I อธิบายเรืองอวัยวะรับสัมผัส ให้ต่อเนื่องกับกิจกรรม SS1 8

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Explain I อธิบายวงจรรีเฟล็กซ์ ซึ่งจะมีคำถามแทรกอยู่ในใบงาน ss1 เกี่ยวกับรีเฟล็กซ์ แผนภาพอธิบายการเกิดการตอบสนองนี้ เรียกว่า รีเฟลกซ์ ซึ่งจะช่วยให้ร่างกายพ้นจากอันตรายโดยที่มีศูนย์กลางการสั่งการที่ไขสันหลัง SS1 9

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Explore II สำหรับพฤติกรรมของการเรียนรู้ อวัยวะที่เป็นส่วนสำคัญที่ใช้ในการเรียนรู้ ก็คือ สมอง ในกิจกรรมนี้ เป็นกิจกรรมที่เราจะได้เรียนรู้ถึงโครงสร้าง ตำแหน่ง และหน้าที่ของสมองกันนะคะ ใบกิจกรรม ss2 Thinking cap เป็นกิจกรรมที่เป็นการสร้างโมเดลของสมองอย่างง่ายโดยใช้หมวกแทนกะโหลกศีรษะและแบ่งพื้นที่ส่วนต่างๆของสมองให้ชัดเจน SS2 10

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว สมองและไขสันหลัง ประกอบด้วยเซลล์ประสาท ซึ่งตัวเซลล์ประกอบด้วยส่วนที่เป็นตัวเซลล์และเส้นใยประสาทที่ทำหน้าที่รับกระแสประสาท (เดนไดรต์) และส่งกระแสประสาท(แอกซอน) Explain II อธิบายเพิ่มเติมจากกิจกรรมจาก 5.2 โดยเชื่อมโยงกับตัวเซลล์ เซลล์ประสาท มีความเหมือน และแตกต่าจากเซลล์ทั่วไปหรือไม่ อย่างไร สมองส่วนต่างๆมีหน้าที่เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร สรุปแผนผังของตำแหน่งและหน้าที่ของสมองได้ว่าอย่างไร SS2 11

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Elaborate พฤติกรรม หมายถึง กริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเมื่อเผชิญกับสิ่งเร้า (Stimulus) หรือสถานการณ์ต่าง ๆ อาการแสดงออกต่าง ๆ เหล่านั้น เชื่อมโยงกับพฤติกรรมการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนลองยกตัวอย่างพฤติกรรมอื่นๆของพฤติกรรมทั้งสองประเภท พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด และ พฤติกรรมของการเรียนรู้ พวกเราลองช่วยกันยกตัวอย่างของพฤติกรรมทั้งสองดูนะคะ SS1 12

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว Elaborate พวกเราคิดว่า วินัยจราจรที่รณรงค์ เรื่องของการขับขี่ปลอดภัย มีความเกี่ยวข้องกับการเรียนเรื่องระบบประสาทที่ผ่านมาอย่างไร เปิดไฟ ใส่หมวก เมาไม่ขับ กลับแท็กซี่ ง่วงนัก พักงีบ ขับไม่โทร ขั้นขยาย เป็นการนำวิดิโอคลิปทั้ง 4 สโลแกน เปิดเพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงวินัยจราจรและมีความคิดเชื่อมโยงกับระบบประสาทและการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งนักเรียนจะได้ดูคลิปพร้อมกันทั้งห้อง 13

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Evaluate จากการวินิจฉัยอาการของผู้ป่วย ได้ผลปรากฏว่า ผู้ป่วยไม่มีอาการที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท เพียงแต่มีอาการที่เกิดจากการกระแทกของศีรษะกับของแข็งเท่านั้น แล้วพวกเธอล่ะได้ผลการวินัจฉัยได้ว่าอย่างไร การประเมิน เพื่อตรวจสอบผลการวินิจฉัยของนักเรียน (ผลการทำกิจกรรม) และความเชื่อมโยงวินัยจราจรกับระบบประสาท 14

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Elaborate 15

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Elaborate 16

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Elaborate 17

ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว Elaborate 18

รายละเอียดสำหรับการติดต่อ: ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว ห้องฉุกเฉิน: โอ๊ย..ปวดหัว รายละเอียดสำหรับการติดต่อ: สถาบันวิทยาศาสตร์ สวก. สพฐ. kruwit.institute@gmail.com