การสร้างห้องเรียนคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
(Classroom Action Research)
PCTG Model อริยมงคล 55.
เส้นทางก้าวสู่เป้าหมาย การสร้างวัฒนธรรมวิจัยในโรงเรียน ปีที่ 2
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ O-NET
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ปฏิบัติการขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพ
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปการดำเนินงานด้าน ICT โรงเรียนเขาทรายทับคล้อพิทยา
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แนะนำวิทยากร.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ โดย อ.เอื้อมพร รุ่งศิริ ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 26 มีนาคม 2555

ห้องเรียนคุณภาพคืออะไร?

การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research – CAR) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline)

การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ  รูปแบบในการบริหารจัดการรายวิชาของอาจารย์  ยกระดับคุณภาพผู้เรียน มีการปรับการเรียน เปลี่ยนวิธีสอน จัดบรรยากาศ

การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน  การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan) จากหน่วยการเรียนรู้ที่กำหนด  ออกแบบการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

การวิจัยในชั้นเรียน (CAR-Classroom Action Research)  เป็นการศึกษาค้นคว้าของครู เพื่อแก้ปัญหาการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน หรือพฤติกรรมนักเรียน รวมถึงการคิดวิเคราะห์ เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน  เป็นการวิจัยที่ดำเนินการควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานของครูและครูเป็นผู้นำผลการวิจัยนั้นมาใช้ประโยชน์

ปัญหาที่เกิดขึ้นจะมี 3 ประเด็น คือ 1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. จิตพิสัย (Affective Domain) - พฤติกรรม 3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) - ความชำนาญ รวดเร็ว

สรุปหลักการสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน (อริยสัจ 4) + (การประเมิน) สรุปหลักการสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน (อริยสัจ 4) + (การประเมิน) ทุกข์ : ปัญหา (ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ) สมุทัย : สาเหตุของปัญหา (เหตุให้ทุกข์เกิด) นิโรธ : วิธีการที่ใช้แก้ปัญหา (ความดับทุกข์) มรรค : วิธีการที่เหมาะสมที่ใช้แก้ปัญหา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์) การประเมิน : ดูผลการแก้ปัญหาที่ทำไปแล้วว่าได้รับความสำเร็จ มากน้อยเพียงใด

กิจกรรมที่ 1 ขอให้ท่านอาจารย์ทุกท่าน พิจารณาย้อนหลังดูว่าในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ท่านภาคภูมิใจกับผลสำเร็จในการแก้ปัญหาจากนักเรียนในชั้นเรียนของ ท่าน มีอะไรบ้าง เสนอมา 3 รายการ 1……………………………………… 2……………..……….………………. 3.……………………………………... ในจำนวน 3 ข้อนี้ ข้อที่ท่านภาคภูมิใจมากที่สุด คือ ข้อ …….....

กิจกรรมที่ 2 จากผลการแก้ปัญหานักเรียนในชั้นเรียนของท่าน ข้อที่ท่านภาคภูมิใจมากที่สุด ในกิจกรรมที่ 1 ให้ท่านเขียนรายละเอียดตามหัวข้อ ดังนี้ 1. สภาพปัญหา (ปัญหาที่ท่านพบในห้องเรียนของท่าน ก่อนมี การแก้ปัญหา)……………………………………………………….. 2. วิธีการที่ท่านนำมาใช้ในการแก้ปัญหา (ท่านทำอย่างไรจึงสามารถแก้ปัญหานั้นได้สำเร็จ)…………………………………………….. 3. รู้ได้อย่างไรว่าวิธีการที่ท่านนำมาใช้สามารถแก้ปัญหาได้สำเร็จ (มีคะแนน หรือตัวบ่งชี้อะไรที่สามารถบอกได้ชัดเจน)….................

กิจกรรมที่ 3 ให้ท่านนำความสำเร็จจากกิจกรรมที่ 2 มาเขียนรายละเอียด ดังนี้ หัวข้องานที่ท่านทำได้ประสบความสำเร็จ................................ สภาพปัญหาก่อนการแก้ปัญหา................................................ จุดมุ่งหมายที่ต้องการแก้ปัญหา................................................ วิธีการที่ท่านนำมาใช้ในการแก้ปัญหา..................................... กลุ่ม(นักเรียน)เป้าหมายที่ท่านต้องการแก้ปัญหา.................... วิธีการที่ใช้วัดผลสำเร็จในการแก้ปัญหา................................. สรุปผลการแก้ปัญหา.............................................................

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพื่อการสอน และสนับสนุนการสอน  การใช้สื่อสารสนเทศที่กว้างขวางเพื่อการสืบค้นและการเรียนการสอนสู่ห้องเรียนสากล (Global Classroom) ครูสามารถเรียนรู้แนวทางได้จากอินเตอร์เน็ต เช่น การสอนที่ใช้พลังของเด็ก (Power Teaching) เด็กก็สามารถเรียนรู้และเลียนแบบจากต้นแบบในอินเตอร์เน็ตเช่นเดียวกัน เช่น การเล่นกีฬา ดนตรีประเภทต่าง ทำให้สื่อใกล้ตัวครูและนักเรียนมากขึ้น ชุมชนการเรียนรู้กว้างออกจากห้องเรียนไปสู่สากลด้วย e-mail การใช้บล็อก (Blog) ที่มีบริการแก่สมาชิก เช่น www.gotoknow.org/ ; http://www.blogger.com/ เป็นต้น

การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) การสร้างฐานข้อมูลนักเรียนรายบุคคลเพื่อศึกษา เช่น แฟ้มประวัติและผลงานนักเรียน มีข้อมูลสารสนเทศและเครือข่ายระบบดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง การส่งเสริมวินัยให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียน เช่น การสร้างและปฏิบัติตามกฎห้องเรียน (House Rules) การใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนได้มีส่วนร่วมคิดร่วมทำ การแก้ปัญหาและตอบปัญหาเชิงบวก ใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ห้องเรียนคุณภาพ กับ 4 ก้าวคุณภาพครู ก้าวที่ 1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้สาระรายวิชา (Course Syllabus) “บอกการเป็นนักวางแผนชั้นครู” ก้าวที่ 2 วางแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan) “บอกความเป็นนักออกแบบชั้นครู” ก้าวที่ 3 การจัดกิจกรรมการเรียนเรียนรู้ “บอกความเป็นนักบริหารจัดการชั้นครู” ก้าวที่ 4 การประเมินการสอนรายวิชา “บอกความเป็นนักวิจัยชั้นครู”

Thank you for your attention.