ทิศทางเกษตรไทยในกระแสโลก พีรเดช ทองอำไพ รองผู้อำนวยการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
เรื่องของโลก สถานการณ์ปัจจุบัน คาดการณ์อีก 15-20 ปีข้างหน้า ประชากรประมาณ 7,600 ล้านคน (ปี 2020) (9,000 ล้าน ปี 2050) ประชากรอายุ 60+ = 1,200 ล้านคน (ปี 2025) ประชากร 6,866 ล้านคน ประชากรอายุ 60+ = 605 ล้านคน อายุขัย 65.8 ปี คนว่างงาน 190 ล้านคน (อัตราว่างงาน 6.1%)
เรื่องของไทย สถานการณ์ปัจจุบัน ภาพอนาคต 15-20 ปี ข้างหน้า ประชากร 64 ล้านคน อายุขัยเฉลี่ย 72.5 ปี สัดส่วนวัยทำงาน : ผู้สูงวัย 6.3 : 1 อัตราการเพิ่มประชากร 0.63% (เดิม 3.1% ปี 1960) อัตราว่างงาน 2.1% ประชากร 69 ล้านคน (ปี 2020) สัดส่วนวัยทำงาน : ผู้สูงวัย 3.3 : 1 (ปี 2020)
สิ่งที่จะเกิดขึ้นแน่นอน ขาดแคลนพลังงานอย่างรุนแรง การถือครองที่ดิน ที่ไม่เป็นธรรม การแย่งชิงน้ำ และปัญหาน้ำท่วม น้ำแล้ง ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร และยารักษาโรค ความไม่เท่าเทียมกันในสังคม คนตกงานในสาขาที่มีการผลิตจำนวนมาก
ทิศทางของโลกที่จะมีผลกระทบต่อประเทศไทย ความต้องการอาหารของพลโลก เพิ่มมากขึ้น การตื่นตัวเรื่องสภาวะโลกร้อน การผลิตการเกษตรที่เน้นเรื่องเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ระบบควบคุมคุณภาพที่เข้มข้นขึ้น การตื่นตัวเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงเกษตรไทยในอนาคต 10 ปี ให้ความสำคัญกับการเพิ่มมูลค่ามากขึ้น การผลิตที่มุ่งเน้นคุณภาพมากขึ้น จำนวนพื้นที่ต่อแรงงาน 1 คนเพิ่มมากขึ้น มีการใช้เครื่องจักรกลมากขึ้น
มูลค่าส่งออกอาหารและผลิตผลเกษตรประมาณ 800,000 ล้านบาท, จัดอยู่ลำดับ 7 ของโลก ส่วนใหญ่ส่งออกในรูปวัตถุดิบ สัดส่วนระหว่างส่งออกวัตถุดิบกับแปรรูป = 60 : 40 กระทรวงพาณิชย์
พื้นที่ชลประทาน: 23.7 ล้านไร่ ใช้ได้เต็มที่ 11.3 ล้านไร่ อีกมากกว่า 23 ล้านไร่ เสี่ยงภัยแล้ง กรมพัฒนาที่ดิน, 2550
การเกษตรกับเศรษฐกิจของประเทศ Thailand Agriculture Current Status การเกษตรกับเศรษฐกิจของประเทศ มูลค่าสินค้าเกษตรต่อรายได้ประชาชาติ (GDP) ลดลงจาก 30% ในปี 1960 เหลือไม่ถึง 10% ในปี 2008 แต่มูลค่าอุตสาหกรรมบนฐานการเกษตรต่อรายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้นจาก 29 % ในปี 2000 เป็น 31 % ในปี 2008 สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,2552
นิพนธ์ พัวพงศกร,2551 และ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2552 Man/rai 1961 1971 1981 1991 2001 2008 นิพนธ์ พัวพงศกร,2551 และ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2552
เกษตรกรที่ทำการเกษตรเป็นหลัก ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการเพาะปลูก เกษตรผู้สูงอายุ หาเลี้ยงชีพจากเกษตรแบบยังชีพ อัมมาร สยามวาลา, 2547
การใช้เครื่องจักรกลเกษตรเพิ่มมากขึ้น แรงงานหายากขึ้น (พื้นที่การเกษตรต่อครอบครัวเพิ่มมากขึ้น) แรงงานหายากขึ้น นิพนธ์ พัวพงศกร, 2551 และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2551
World Market Share(%) 2006-2008 Rice Tapioca Para rubber Chicken meat Shrimp Sugar Chicken products Processed rubber Vegetables Fruits Palm oil Thailand 38 32 41 25 21 7 5 4 2 1 Vietnam 15 11 9 na 10 China 6 3 Indonesia 34 42 Malasia 44 India 8 Philippines คำนวณโดยอ้างอิงจากข้อมูล World Trade Atlas 13
การผลิตสัตว์น้ำขยายตัว แต่แหล่งโปรตีนอาหารสัตว์มีจำกัด ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของ ประเทศไทย นำรายได้เข้าประเทศมากกว่า 140,000 ล้านบาท และมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นทั้งในและต่างประเทศ การผลิตสัตว์น้ำของไทยต้องพึ่งแหล่งโปรตีน จากภายนอกโดยเฉพาะปลาป่น มีการประเมินว่าทั่วโลกต้องการผลิตอาหารสัตว์น้ำ 27 ล้านตันในปี 2553 และเพิ่มเป็น 37 ล้านตันในปี 2563 แต่ปริมาณปลาป่น มีปริมาณเพียง 7-8 ล้านตัน กิจการ ศุภมาตย์, 2549
อายุเฉลี่ยเกษตรกรเพิ่มขึ้น แรงงานภาคเกษตรลดลง อายุเฉลี่ยเกษตรกรเพิ่มขึ้น ปี 1980 อายุเฉลี่ย 33 ปี 80 % ช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) ปี 2002 อายุเฉลี่ย 40 ปี % ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 5 (1982-1986) ปี 2008 อายุเฉลี่ย 51 ปี 40 % (2007) โครงการวิจัยหนี้สินภาคครัวเรือนของเกษตรกรในชนบทไทย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จำเป็น เทคโนโลยีใหม่ 3 สาขา เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์คือเส้นทางเลือกของไทย
เศรษฐกิจสร้างสรรค์...เส้นที่เหลือให้เลือก ? ปรับวิธีคิด & เปลี่ยนวิธีทำ ?
Kamol Lertrat, 2009
ที่มา: http://lunchboxproject.wikispaces.com
ทางรอดธุรกิจเคมีเกษตรไทย Concept: เกษตรกรอยู่ได้ ธุรกิจก็อยู่ได้ เน้นที่การให้ความรู้ คู่กับการขายสินค้าที่มีคุณภาพ เห็นเป้าหมายร่วมกัน “ผลิตผลเกษตรที่มีคุณภาพ”