งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นการตรวจติดตาม
Advertisements

นโยบายการพัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
Strategy Map Teenage.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ร้อยละความทันเวลา การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม แยกรายอำเภอ (เดือน ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) เกณฑ์>90%
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม.
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
ระบบข้อมูล สนับสนุนการวางแผน และประเมินผล.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
M & E 2558 ทพ.นิติโชติ นิลกำแหง สสจ.ชัยภูมิ 15 ตค.2557.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสุข อำเภอแก้งคร้อยุคใหม่
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สรุปผลงานข้อมูลคุณภาพ
LOGO รายงาน ความก้าวหน้า การส่ง / นำเข้าข้อมูล 21 / 43 แฟ้ม.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
สาขาโรคมะเร็ง.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
ผลการดำเนินงานสาธารณสุขชายแดนปี 2557
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ นโยบายการพัฒนา ระบบข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์

นโยบาย สสจ.ขอนแก่น ทันเวลา หมายถึง จัดส่งภายในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ (43แฟ้ม) ให้มีคุณภาพ (ครบถ้วน ทันเวลา) -รพศ./รพท./ รพช./รพ.สต. ส่งออกข้อมูล 43 แฟ้ม ได้คุณภาพร้อยละ 100 ครบถ้วน หมายถึง รพ.และ PCU/ศสม. ส่งออกแฟ้มพื้นฐานรวมกันได้ จำนวน 43 แฟ้ม รพ.สต. ส่งออกแฟ้มพื้นฐานได้ทั้งหมด จำนวน 36 แฟ้ม ทันเวลา หมายถึง จัดส่งภายในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป

นโยบาย สสจ.ขอนแก่น นำข้อมูล 21/43 แฟ้ม มาใช้ในการบริหารจัดการ นโยบาย สสจ.ขอนแก่น นำข้อมูล 21/43 แฟ้ม มาใช้ในการบริหารจัดการ -KPI ตามยุทธศาสตร์และการประเมินผล CUP -ข้อมูลพื้นฐาน ประชากรในความรับผิดชอบ/ กลุ่มเป้าหมาย (PERSON) - รายงานของกลุ่มงาน

นโยบาย สสจ.ขอนแก่น พัฒนาระบบการตรวจสอบ คุณภาพข้อมูล นโยบาย สสจ.ขอนแก่น พัฒนาระบบการตรวจสอบ คุณภาพข้อมูล -แต่งตั้งทีมตรวจสอบ/ประกวดหน่วยงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสาร -ถ่ายทอดการประชุม กวป./การประชุมสำคัญ ผ่านระบบ VDO/ WEB Conference -สร้างกลุ่มในการสื่อสาร ผ่าน Facebook Line และอื่นๆ

เปรียบเทียบ ร้อยละการจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม ของโรงพยาบาล จ เปรียบเทียบ ร้อยละการจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม ของโรงพยาบาล จ.ขอนแก่น ปีงบประมาณ 2556 และ ปีงบประมาณ 2557 เฉลี่ย ปี 2556= 64 % เฉลี่ย ปี 2557= 70 %

ร้อยละความทันเวลา การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม แยกรายโรงพยาบาล(เดือน ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) เฉลี่ย = 81 %

ร้อยละความทันเวลา การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม แยกรายอำเภอ (เดือน ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) เฉลี่ย = 87 %

ร้อยละความทันเวลา การจัดส่งข้อมูล 21 แฟ้ม แยกรายโรงพยาบาล(เดือน ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) เฉลี่ย ปี = 89 %

ร้อยละความทันเวลา การจัดส่งข้อมูล 21 แฟ้ม แยกรายอำเภอ (เดือน ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) เฉลี่ย = 97 %

ร้อยละ การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม ของโรงพยาบาล จ ร้อยละ การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม ของโรงพยาบาล จ.ขอนแก่น ปีงบประมาณ 2557 (ต.ค. 56 –มี.ค. 57) เฉลี่ย = 70 %

แนวทางการพัฒนาข้อมูล 43 แฟ้ม ปีงบประมาณ 2557 แนวทางการพัฒนาข้อมูล 43 แฟ้ม ปีงบประมาณ 2557 แต่งตั้ง PROJECT MANAGER ทุก CUP และผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน ทุกระดับ ( ผู้บันทึก-ผู้ตรวจสอบ ผู้ส่งออก-ผู้ตรวจสอบการส่งออก ผู้ตรวจสอบการนำเข้า DATA CENTER ของจังหวัด) - วิเคราะห์ปัญหา (HW SW PW) และหาทางปรับปรุงแก้ไข - จัดระบบตรวจสอบข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ และ คุณภาพ - นำเสนอผู้บริหาร/ผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำกับงาน สม่ำเสมอ - วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน KPI จาก 43 แฟ้ม (เข้าใจนิยาม KPI และพัฒนาให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด)

กระบวนการพัฒนาคุณภาพข้อมูล การวางแผน การลงมือทำ ปรับปรุงแก้ไข จัดทำแผน กำหนดกิจกรรม เวลาที่ต้องดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ประชุมสรุปปัญหา และ หาแนวทางแก้ไขทุกเดือน ดำเนินการ -การสำรวจข้อมูล -การบันทึก ตรวจสอบการบันทึก การจัดส่ง ความครบถ้วน ถูกต้อง สรุปวิเคราะห์ข้อมูล การตรวจ สอบ