ตลาดตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
(กล้องจับที่วิทยากร)
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
1.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การบริหารงานคลังสาธารณะ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
กรณีกองทุนหมู่บ้าน. กรณีกองทุนหมู่บ้าน กรณีกองทุนหมู่บ้าน (ต่อ) ตามหนังสือที่ พณ /1099 ลงวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
Integrated Information Technology
SMS News Distribute Service
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทแข็ง
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
Supply Chain Management
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตลาดตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ บทที่ 4 ตลาดตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ

ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ระหว่างธนาคาร เป็นตลาดที่มีมูลค่าของเงินหมุนเวียนใหญ่ที่สุดในโลก ตลาดเปิดดำเนินการตลอด 24 ชั่วโมงต่อวัน ยกเว้นวันหยุดราชการและวันสุดสัปดาห์ ตลาดประกอบด้วยผู้ทำการซื้อขายเงินตราที่เรียกว่า “ผู้ค้าเงินตรา หรือ Dealer” นับร้อย ๆ คนในตลาดหนึ่ง การซื้อขายจะกระทำผ่าน “นายหน้า หรือ Broker” สื่อทางโทรศัพท์ ทางอินเตอร์เน็ต และช่องทางการสื่อสารอื่น ๆ ตลาดที่จะค้าเงินตราต่างประเทศจะมีอยู่ตลอดเวลา อีกครั้งหมุนเวียนไปรอโลก

ความหมายของตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เงินตราต่างประเทศถือเป็นสินค้าอย่างหนึ่งที่สามารถซื้อขายกันได้ เช่น เกี่ยวกับเสื้อฟ้า กระเป๋า รองเท้า เข็มขัด ดังนั้น ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ คือสถานที่ที่มีการซื้อขายเงินตราต่างประเทศโดยที่มีผู้ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายเงินตราต่างประเทศประกอบด้วย ธนาคารพาณิชย์นายหน้า ตัวแทนซื้อขายเงินตราต่างประเทศและเอกชนอื่น ๆ ทำหน้าที่ซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ได้แก่ โรงแรม บริษัทนำเที่ยว สนามบิน ร้านขายของที่ระลึกต่าง ๆ เป็นต้น เงินตราต่างประเทศที่นิยมซื้อขายกันได้แก่ ดอลลาร์สหรัฐ ปอนด์เสเตอริงค์ ด๊อยมาร์ค เงินเยน เป็นต้น โดยการซื้อขายจะกระทำกันในตลาดที่สำคัญ ๆ ได้แก่ ตลาดลอนดอน นิวยอร์ค ซูริค ปรังเฟิร์ท โตเกียว ฮ่องกง และสิงคโปร์ เป็นต้น

ความสำคัญของตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากการทำธุรกรรมระหว่างประเทศหากมีเงินตราต่างประเทศสกุลเดียวก็ย่อมไม่มีความจำเป็นต้องมีตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ แต่ในความเป็นจริงการทำธุรกรรมระหว่างประเทศจะต้องเกี่ยวข้องกับเงินตราต่างประเทศตั้งแต่ 2 สกุลขึ้นไป จุดมุ่งหมายของตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ก็คือการโอนอำนาจซื้อจากเงินตราสกุลหนึ่งไปยังเงินตราอีกสกุลหนึ่ง หรือเป็นการแลกเปลี่ยนหรือทำการซื้อขายเงินตราต่างประเทศสกุลหนึ่งไปยังเงินตราต่างประเทศอีกสกุลหนึ่ง

ตัวอย่าง ผู้ส่งออกชาวสหรัฐอเมริกาขายรถยนต์ให้แก่ผู้นำเข้าชาวไทยเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐและพ่อค้าส่งออกของไทยขายข้าวเป็นเงินบาทให้แก่พ่อค้านำเข้าของสหรัฐอเมริกา ไม่ว่าจะตกลงซื้อขายด้วยเงินสกุลใดคู่ค้าแต่ละฝ่ายย่อมต้องการโอนอำนาจซื้อมายังเงินตราสกุลประเทศของตน กล่าวคือผู้นำเข้าชาวไทยจะต้องโอนอำนาจซื้อจากเงินบาทไปเป็นดอลลาร์สหรัฐและผู้นำเข้าสหรัฐต้องโอนอำนาจซื้อจากดอลลาร์สหรัฐมาเป็นเงินบาท

หน้าที่ของตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ทำหน้าที่เป็นกลไกโอนอำนาจซื้อระยะห่างประเทศ อำนวยความสะดวกในการให้สินเชื่อสำหรับธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ และช่วยลดความเสี่ยงภัยอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน 3.1 การโอนอำนาจซื้อ (Transfer of Purchasing Power) 3.2 การอำนวยความสะดวกในการให้สินเชื่อ (Provision of Credit) 3.3 ลดความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน (Minimize Foreign Exchange)

3.1 การโอนอำนาจซื้อ (Transfer of Purchasing Power) การโอนอำนาจซื้อมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการดำเนินการค้าระหว่างประเทศ โดยปกติซึ่งดำเนินธุรกรรมแต่ละฝ่ายย่อมต้องการที่จะได้รับเงินของตนเป็นหลัก แม้ว่าในช่วงการดำเนินการค้าหรือการเคลื่อนย้ายเงินนั้นสามารถที่จะส่งใบกำกับสินค้า (invoice) เช่น เงินดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งการที่จะใช้เงินตราสกุลใดนั้นจะต้องตกลงกันไว้ก่อน แต่เมื่อใช้เงินสกุลใดแล้วคู่ค้าแต่ละฝ่ายก็จะต้องโดนอำนาจซื้อไปยังเงินตราสกุลของประเทศตน กล่าวคือถ้าในการดำเนินธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศได้มีการตกลงซื้อขายกันเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐ และผู้ส่งออกก็จะต้องโอนอำนาจซื้อจากเงินดอลลาร์สหรัฐมาเป็นเงินสกุลของประเทศตน

3.2 การอำนวยความสะดวกในการให้สินเชื่อ (Provision of Credit) เนื่องจากการขนถ่ายสินค้าระหว่างประเทศย่อมใช้ระยะเวลา ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีวิธีการที่จะจัดหาเงินมาใช้จ่ายสำหรับสินค้าที่อยู่ระหว่างเดินทาง ในบางกรณีอาจมีความจำเป็นที่จะต้องจัดหาเงินทุนสำหรับค่าเดินทางและรวมถึงเมื่อบริษัทตังแทนจำหน่าย ในระหว่างประเทศช่วงเวลาดังกล่าวอาจใช้ระยะเวลา 2-3 สัปดาห์ หรือ 6 เดือนซึ่งขึ้นอยู่กับประเภทของการขนส่ง ผู้ส่งออกอาจตกลงให้สินเชื่อ โดยยอมให้ผู้สั่งนำเข้าเป็นลูกหนี้การค้าโดยคิดดอกเบี้ย หรือไม่คิดดอกเบี้ยก็ได้ ในทางตรงกันข้ามผู้ส่งออกอาจจะชำระค่าเป็นเงินสดหรือจัดหาโดยวิธีการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน

3.3 ลดความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน (Minimize Foreign Exchange) ทั้งผู้นำเข้า และผู้ส่งออกย่อมไม่ปรารถนาที่จะได้รับความเสี่ยงที่เกิดมาจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน ในการดำเนินธุรกิจปกตินั้น ผู้ค้าแต่ละฝ่ายย่อมหวังที่จะได้รับกำไรจากการขายมากกว่าการที่จะได้รับความเสี่ยงอันเกิดจากการที่อัตราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงไป หรือกำไรอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนโดยไม่คาดหลัง ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจะมีเครื่องมือที่อำนวยความสะดวดในการป้องกันความเสี่ยง (Hedging) โดยการโอนความเสี่ยงอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนไปยังบุคคลอื่นที่เป็นมืออาชีพที่เกี่ยวกับการป้องกันความเสี่ยง

ผู้มีส่วนร่วมในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากปริมาณการซื้อขายเงินตราต่างประเทศของตลาดโลกมีจำนวนมหาศาลและมีการซื้อขายอยู่ตลอดเวลา จึงมีผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศหลายกลุ่มด้วยกัน ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ใหญ่ ๆ นายหน้าและตัวแทนซื้อขายเงินตราต่างประเทศซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกลางในตลาดระหว่างธนาคาร ลูกค้าของธนาคาร บริษัทข้ามชาติ (Multinational Corporation) และ ธนาคารกลาง ซึ่งเข้ามาเกี่ยวข้องในบางกรณี เพื่อรักษาอัตราแลกเปลี่ยนให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมไม่ให้อัตราแลกเปลี่ยนเคลื่อนไหวขึ้นลงมากนัก

ผู้มีส่วนร่วมในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ(ต่อ) ธนาคารพาณิชย์นับว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญ ซึ่งเป็นผู้นำตลาด (Marker Market) อย่างแท้จริงกล่าวคือจะเป็นผู้ดำเนินการซื้อขายเงินตราต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลประโยชน์ของตน การทำธุรกรรมระหว่างธนาคารเกือบทั้งหมดในประเทศจะกระทำโดยผ่านนายหน้าซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ในด้านข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งซื้อขายเงินตราต่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน โดยนายหน้าซื้อขายเงินตราต่างประเทศจะได้รับค่าตอบแทนจาการค้าเงินตราต่างประเทศ ลูกค้าของธนาคารพาณิชย์และนาคารกลางทำการซื้อขายเงินตราต่างประเทศโดยผ่านธนาคารของตน

ผู้มีส่วนร่วมในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ(ต่อ) จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้นเราสามารถบทสรุปได้ว่าผู้ที่มีส่วนร่วมในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจำแนกได้ออกเป็น 5 กลุ่มคือ 4.1 กลุ่มธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่นที่ทำหน้าที่ เป็นตัวกลางในการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 4.2 กลุ่มเอกชนและธุรกิจที่ประกอบธุรกรรมพาณิชย์และการลงทุน 4.3 กลุ่มนักเก็งกำไรและนักค้ากำไร (Speculators and Arbitrager) 4.4 กลุ่มธนาคารกลาง และหน่วยงานคลังของรัฐ 4.5 กลุ่มนายหน้าซื้อขายเงินตราต่างประเทศ

รูปแบบของตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศสามารถจำแนกออกเป็น 2 รูปแบบใหญ่ ๆ ด้วยกันตามระยะเวลาการส่งมอบสินค้าหรือระยะเวลาการส่งมอบเงินตราต่างประเทศ 5.1 ตลาดซื้อขายเงินตราต่างประเทศทันที หรือตลาดทันที 5.2 ตลาดซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าหรือตลาดล่วงหน้า

ประเภทของการทำธุรกรรมซื้อขายเงินตราต่างประเทศ การซื้อขายเงินตราต่างประเทศสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทคือ 6.1 การทำธุรกรรมทันที (Spot Transaction) :การทำธุรกรรมทันทีในตลาดระหว่างธนาคาร ซึ่งเป็นการตกลงซื้อขายเงินตราต่างประเทศที่มีการส่งมอบและชำระเงินทันทีระหว่างธนาคารด้วยกัน 6.3 การทำธุรกรรมสว๊อพ (Swap Transaction) :เป็นการตกลงทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศโดยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนกันในวันนี้ เพื่อทำการส่งมอบเงินตราต่างประเทศในอนาคตข้างหน้า 6.2 การทำธุรกรรมล่วงหน้า (Forward Transaction) :การตกลงทั้งซื้อและขายเงินตราต่างประเทศจำนวนเดียวกัน แต่มีการส่งมอบในระยะเวลาที่ต่างกัน

อัตราแลกเปลี่ยนทันทีและอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Spot Rate and Forward Rate) 7.1 อัตราแลกเปลี่ยนทันที่ (Spot Rate) หมายถึง อัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้ สำหรับการซื้อขายเงินตราต่างประเทศที่มีการส่งมอบเงินตราทันที หรือไม่เกิน 2 วันทำการถัดไป (Business) การดำเนินการเกี่ยวกับเอกสารต่าง ๆ รวมถึงเวลา ที่มีความแตกต่างกันระหว่าง 2 ประเทศในกรณีที่วันส่งมอบตรงกับวันหยุดทำ การของประเทศหนึ่งของเงินตราแต่ละสกุลก็ให้เลื่อนขึ้นไปวันทำการถัดไป 7.2 อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Rate) หมายถึงอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้ สำหรับการซื้อขายเงินตราต่างประเทศที่มีการส่งมอบหรือโอนเงินตรากันในอนาคต ซึ่งมีระยะเวลาการส่งมอบกันมากกว่า 2 วัน ทำการอาจจะเป็น 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน เป็นต้น

อัตราแลกเปลี่ยนทันทีและอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Spot Rate and Forward Rate) 7.3 การเสนออัตราแลกเปลี่ยน (Foreign Exchange Quotation) ในการเสนออัตราแลกเปลี่ยนมักเกี่ยวข้องกับเงินตราอย่างน้อย 2 สกุลเสมอ กล่าวคือ เมื่อมีการขายเงินตราต่างประเทศสกุลหนึ่งก็ จะต้องมีการซื้อเงินตราต่างประเทศอีกสกุลหนึ่งควบคู่กันไป 7.4 อัตราแลกเปลี่ยนโยง (Cross Rate) การหาค่าอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตรา 2 สกุลซึ่งไม่สามารถจะ ทำได้โดยตรงต้องใช้เงินตราสกุลที่ 3 เป็นตัวกลางในการหาค่าอัตรา แลกเปลี่ยนของเงิน 2 สกุลดังกล่าว

ราคาเสนอซื้อและราคาเสนอขาย (Bid price and Offer price) ราคาเสนอซื้อ (Bid price หรือ Buying price) หมายถึง อัตราซื้อที่ผู้ค้าเงินที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางต้องการที่จะซื้อเงินตราต่างประเทศจากลูกค้า ราคาเสนอขาย (Offer price หรือ Selling price) หมายถึงอัตราขายที่ผู้ค้าเงินที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางต้องการที่จะขายเงินตราต่างประเทศให้แก่ลูกค้า โดยปกติราคาเสนอขายจะสูงกว่าราคาเสนอซื้อเล็กน้อย การเสนออัตราแลกเปลี่ยนโดยการเสนอราคาเต็มจำนวน (full price) ทั้งราคาเสนอซื้อและราคาเสนอขายเรียกว่า Outright Quotation โดยจะแสดงจุดทศนิยมไว้ 4 ตำแหน่ง หรือในบางกรณีจะแสดงเฉพาะตัวเลขสุดท้าย ของการเสนอราคาก็ได้เรียกว่า Point Quotation

การเสนอราคาในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า การเสนอราคาที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นการเสนอราคาในตลาดทันที สำหรับ ในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า หรือตลาดล่วงหน้า(Forward Marker) นั้นการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Quotation) สามารถกระทำได้ 2 วิธีคือ 1. การเสนอราคาในหน่วยของจำนวนเงินตราสกุลในประเทศต่อเงินตรา สกุลต่างประเทศ เช่นเดียวกับการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนทันที การเสนอ ราคาดังกล่าวเรียกว่า Outright rate ซึ่งเป็นการเสนอราคาที่ผู้ค้าเงินตราเสนอแก่ลูกค้า 2. Swap rate หมายถึงการเสนอราคาแบบจำนวนส่วยเพิ่ม (premium) และจำนวนส่วนลด (discount) จากอัตราแลกเปลี่ยนทันทีโดยทั่วไป

ส่วนเพิ่มและส่วนลด (Premium Discount)

การค้ากำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนในตลาดเงินตราต่างประเทศ โดยหลักการแล้วการเสนออัตราแลกเปลี่ยนของเงินสกุลหนึ่ง ๆ ควรจะเป็นอัตราเดียวกันในตลาดเงินตราต่างประเทศที่มีการซื้อขายกัน แต่ในบางขณะการเสนออัตราแลกเปลี่ยนของสกุลหนึ่งอาจจะมีค่าไม่เท่ากันซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้มีการทำกำไรการซื้อขายเงินตราสกุลนั้น โดยการซื้อเงินตราต่างประเทศสกุลนั้นในราคาถูกและขายเงินตราต่างประเทศสกุลนั้นในราคาแพง การดำเนินการดังกล่าวเรียกว่า Arbitrage ตัวอย่างเช่น มีการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนของเงินด๊อยมาร์คต่อเงินดอลลาร์สหรัฐของตลอดนิวยอร์คและตลอดลอนดอน

การค้ากำไรจากความแตกต่างในอัตราดอกเบี้ย (Covered Inter) ตามทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค ความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยจะเท่ากับส่วนเพิ่มหรือส่วนลดของอัตราล่วงหน้าของเงินตรา 2 สกุล เนื่องอัตราดอกเบี้ยของเงินสกุลโดยปกติแล้วจะไม่เท่ากันจึงทำให้มีการค้ากำไรจากความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยของเงินสกุล ตัวอย่าง อัตราดอกเบี้ยของตั๋วเงินคลังของของอังกฤษเท่ากับ 10% ต่อปี ขณะที่ตั๋วเงินคลังของสหรัฐอเมริกาเท่ากับ 6.8% ต่อปี ตามทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค เงินปอนด์จะมีส่วนลด 3.2% ซึ่งเท่ากับความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยคือ 3.2% เท่ากัน

วิวัฒนาการตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย สมัยก่อนสงคราม ประเทศไทยผูกค่าของเงินบาทไว้กับปอนด์สเตอร์ลง เนื่องจากการค้าต่างประเทศมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยมาก รัฐบาลไทยจึงยึดมั่นในหลักการที่จะดำรงค่าของเงินบาทให้มีเสถียรภาพมั่นคง โดยมิได้มีการควบคุมการซื้อขายแลกเปลี่ยนเงินตราแต่อย่างใด ต่อมาเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง เหตุการณ์บังคับให้ไทยต้องค้าขายกับญี่ปุ่นเพียงประเทศเดียวทั้งต้องจำยอมรับเงื่อนไขทางการเงินอีกด้วย จึงมีความจำเป็นต้องทำการควบคุมการและเปลี่ยนเงิน รัฐบาลสมัยนั้นจึงได้ตราพระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน ปี พ.ศ. 2485 ขึ้น

วิวัฒนาการตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย ประเทศไทยก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยนอีกหลายครั้ง ซึ้ง สามารถแบ่งระยะต่าง ๆ โดยอิงกับระบบอัตราและเปลี่ยนที่ใช้อยู่ในระยะ นั้นได้ ดังต่อไปนี้คือ ระยะที่หนึ่ง (พ.ศ.2498-2506): ก่อนกำหนดค่าเสมอภาคของบาท ระยะที่สอง (พ.ศ. 2521-2524): ระบบค่าเสมอภาค ระยะที่สาม (พ.ศ. 2521-2524): เลิกค่าเสมอภาคและใช้วิธีกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนประจำวัน ระยะที่สี่ (พ.ศ. 2524-2527): ทุนรักษาระดับฯเป็นผู้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนประจำวัน ระยะที่ห้า (พ.ศ. 2527-ปัจจุบัน): ทุนรักษาระดับฯเป็นผู้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนประจำวันโดยโยงค่าของบาทไว้กับเงินสกุลหลายสกุล

บทสรุป การค้าที่พัฒนามาเลื่อยทำให้การพัฒนาตลาดเงินตรา พัฒนาการอย่างรวดเร็ว ดังนั้นการซื้อขายเงินตราต่างประเทศจงต้องมีรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อสนองต่อความต้องการของผู้ที่ต้องการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ดังนั้นระบบการซื้อขายเงินตราจึงมีหลากหลายรูปแบบ เช่น การทำธุรกรรมทันที (Spot Transaction) สองการทำธุรกรรมล่วงหน้า (Forward Transaction) อัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้ในวันทำสัญญาเรียกว่า อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Rate) และ การทำธุรกรรมสว๊อพ (Swap Transaction)