โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ.72 .5444 การสรรหาข้าราชการ เพื่อไปรักษาการ ในตำแหน่งนายอำเภอในพื้นที่ 3 จชต. โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ.72 .5444
วัตถุประสงค์ ทิศทางการบริหารทรัพยากรบุคคล ต่อความจำเป็นในการดำเนินการสรรหาข้าราชการฯ นายอำเภอ Fast track แนวทางการปรับปรุง ขั้นตอน และกระบวนการ ในการสรรหาข้าราชการฯ ให้เป็นอย่างเหมาะสม โปร่งใส มีคุณธรรม วิเคราะห์ปัญหา และให้ข้อเสนอแนะด้านการสรรหา การคัดเลือกข้าราชการฯ ต่อการบริหารทรัพยากรบุคคลของ กรมการปกครองในภาพรวม
วิธีและขอบเขตการศึกษา ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น - แนวทางการดำเนินการการสรรหาข้าราชการฯ (นายอำเภอ Fast track) ในปี พ.ศ.2548 , 2552 , 2555 - นโยบาย ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับนโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ บทบาทและอำนาจหน้าที่ของนายอำเภอ รวมถึงยุทธศาสตร์ จชต. - ทฤษฎีบริหารทรัพยากรมนุษย์ (The Human Resources Management : HRM) และ แนวคิดทฤษฎีการบริหารจัดการคนเก่ง (Talent Management) ฯลฯ ศึกษาโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-dept Interview) ข้าราชการกลุ่มเป้าหมาย
กรอบความคิด (Conceptual Framework) กรมการปกครอง มีแนวทางและรูปแบบการสรรหาข้าราชการฯ มีความเหมาะสม โปร่งใส เป็นธรรม ข้าราชการที่ได้รับการ แต่งตั้ง รกน. “นายอำเภอ” มี สมรรถนะที่เหมาะสม มีศักยภาพใน การแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ จชต. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” ด้วยยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” ให้ประชาชนเกิดความผาสุก ได้อย่างแท้จริง แนวทาง และ รูปแบบ การสรรหาข้าราชการเพื่อไปรักษาการในตำแหน่ง นายอำเภอในพื้นที่ จชต. เครื่องมือ หลักเกณฑ์ และการประเมินผล ในการสรรหาข้าราชการฯ ที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นธรรม คุณลักษณะของข้าราชการฯ ที่เหมาะสมใน ตำแหน่ง “นายอำเภอในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 1.ภาวะผู้นำ 2.สมรรถนะหลักที่จำเป็น และเหมาะสม 3.ความสามารถในการนำนโยบายไปปฏิบัติ 4.ความมุ่งมั่น อดทน เสียสละ มีจิตใจรุกรบ ฯลฯ
ผลการศึกษา ความเหมาะสมของ นโยบายเสริมสร้างสันติสุข ความเหมาะสมของ นโยบายเสริมสร้างสันติสุข มีความเหมาะสมเชิงนโยบาย ควรเปิด “นอ. fast track”เมื่อมีอัตราตำแหน่งว่าง นโยบาย บุคลากรใน และ ทิศทางการบริหารทรัพยากรบุคคล ต่อการสนับสนุน จชต. แว้ง / ยี่งอ / บาเจาะ /ศรี สาคร / สุคิริน / จะแนะ / เจาะไอร้อง นราธิวาส ปัตตานี และยะลา รวมจำนวน 33 อำเภอ นราธิวาส 13 อำเภอ ต้น 7 / สูง 6 ปัตตานี 12 อำเภอ ต้น 5 / สูง 7 มายอ / กะพ้อ / ไม้แก่น / ทุ่งยางแดง / แม่ลาน ยะหา / ธารโต / กาบัง / กรงปินัง ยะลา 8 อำเภอ ต้น 4 / สูง 4
ผลการศึกษา มีความเหมาะสม -จพง.ปค.ชำนาญการพิเศษ -ประเมินผล 2 ครั้ง -อยู่ในพื้นที่ 3 ปี การกำหนดคุณสมบัติ เครื่องมือ หลักเกณฑ์ และการประเมินผล - มีความสอดคล้องตามที่สำนักงาน ก.พ.กำหนด - เป็นผู้นำการทำงาน 3 มิติ Agenda Area Function - มีจิตวิญญาณ ขรก.ปค. - IQ และ EQ คุณลักษณะที่เหมาะสม ในตำแหน่ง นายอำเภอในพื้นที่ 3 จชต.
สรุป และข้อเสนอแนะ ระบบ “ปกติ” ระบบ “fast track” “นายอำเภอ” “นายอำเภอ” นอ. 56 / 54 นอ. 56 / 54 นอ.56 ลำดับ 55 นอ.56 ลำดับ 55 นอ.57 นอ.57 นอ.58 นอ.58 นอ.59 นอ.59 9 รุ่น 9 รุ่น นอ.60 นอ.60 599 คน 599 คน นอ.61 นอ.61 นอ.62 นอ.62 5 ปี 5 ปี นอ.63 นอ.63 นอ.64 ลำดับ 45 นอ.64 ลำดับ 45 นอ.64/45 นอ.65 นอ.66 นอ.67 นอ.68 นอ.69 นอ.70 นอ.71 นอ.72 นอ.72
ขอขอบคุณ จบการนำเสนอ