พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
การดูแลระยะกลาง (Intermediate Care)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์พิทยา ไพบูลย์ศิริ
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
COMPETENCY DICTIONARY
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Palliative care.
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การบูรณการเชื่อมโยงการดูแลจากรพ.สู่บ้านและชุมชน
แนวปฏิบัติการคืนยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan ข้อมูล ต.ค.59 – ม.ค.60 )
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี Palliative care champions พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี

โรงพยาบาลศูนย์ 1022 เตียง 53 หอผู้ป่วย โรงพยาบาลอุดรธานี โรงพยาบาลศูนย์ 1022 เตียง 53 หอผู้ป่วย บุคลากร 3117 คน 32 PCU, ประชากร 406,206 คน

Palliative care กับการรับรองคุณภาพ การพัฒนาต้องควบคู่ไปกับคุณภาพ เป็นการแสดงให้คนอื่นเห็นความสำคัญของงาน palliative care ใบเบิกทางของการพัฒนางาน (ได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติปี 2559(Thailand Public Service Awards) ประเภทรางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ เรื่อง”การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองจังหวัดอุดรธานี”) ผู้บริหารเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุน ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ ผู้ใช้บริการเกิดความไว้วางใจ เปลี่ยนทัศนคติของคนทำงาน

ข้อมูล PC รพ.อุดรธานี ปี 2560

ข้อมูล PC รพ.อุดรธานี ปี 2561

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการพัฒนางาน palliative care

1.Teamwork&เครือข่าย แพทย์ onco/Hemato เภสัชกร หน่วยเมตตารักษ์ วิสัญญีแพทย์ โภชนากร ทีมแพทย์ทางเลือก พยาบาล เครือข่ายรพช./รพสต.

พัฒนาสมรรภนะของทีม บุคลากร หลักสูตร จำนวน แพทย์ BCCPM 8 weeks. PC for doctor 3-5 วัน 3 คน 5 คน เภสัชกร PC for pharmacists 2 weeks PC for pharmacists 4 month 1 คน พยาบาล CPCCN 4 weeks. BCCPN 6 weeks. Specific PC 4 month. 2 คน

พัฒนาสมรรถนะของทีมรพช./รพสต./ชุมชน/อสม. พัฒนาสมรรภนะของทีม บุคลากร หลักสูตร จำนวน พยาบาล อบรม PCWN 4 รุ่น (5 วัน) 92 คน พัฒนาสมรรถนะของทีมรพช./รพสต./ชุมชน/อสม.

มีระบบการให้คำปรึกษา 24 ชม. กำหนดตารางผู้รับ consult ของแพทย์ครบทุกวัน มีgroup line PC ของรพ.และเครือข่าย หัวใจสำคัญของpalliative คือ การเข้าถึงได้24hr.

แบบฟอร์มให้คำปรึกษาในเครือข่าย Case finding ในชุมชน

Flow chart consult palliative care (IPD) แพทย์เจ้าของไข้ Consult PC พยาบาล wardประสาน PC nurse PC nurse เยี่ยมและและเมินผู้ป่วย Consult แพทย์ตามวัน

แพทย์/พยาบาล/เภสัชกร/โภชนากร Palliative care clinic :One Stop Service พฤหัสบดี/ศุกร์บ่าย แพทย์/พยาบาล/เภสัชกร/โภชนากร

ทำ Family meeting/ ทำ Advance care planning มีระบบการ round case palliative ทุกวันอังคาร ทำ Family meeting/ ทำ Advance care planning

มีระบบการติดตามเยี่ยมบ้าน ทุกบ่ายวันจันทร์

ให้การดูแลอย่างต่อเนื่องร่วมกับทีมเจ้าของไข้ ประเมินผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและครอบครัว ทำ family meeting/advance care plan ดูแลจัดการอาการรบกวน ประเมินความพร้อมก่อนจำหน่าย จำหน่ายกลับบ้าน ส่งต่อ รพ. เครือข่ายใกล้บ้าน เสียชีวิตที่โรงพยาบาล ติดตามที่ OPD palliative หรือทางโทรศัพท์ เยี่ยมบ้านในเขต ติดต่อผ่าน รพ. เครือข่าย หรือทางโทรศัพท์ ดูแลการจัดการอาการ ก่อนเสียชีวิต กรณีระยะผู้ป่วยใกล้เสียชีวิตดูแลจัดการอาการ เยี่ยมบ้านหรือติดต่อ รพ.เครือข่ายช่วยดูแล ให้ข้อมูลญาติ ดูแลช่วยเหลือ ใบรับรองการตาย การนำศพกลับบ้าน ติดตามที่ การปรับตัวของญาติ หลังการสูญเสีย Bereavement care

ศูนย์เครื่องมือ/อุปกรณ์ทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วย โรงพยาบาลอุดรธานี รพท./รพช. ทุกแห่ง รพ.สต. ขนาดใหญ่ *ถังออกซิเจนพร้อมอุปกรณ์ *เตียงลม *เครื่องดูดเสมหะ -Syringe Driver -เครื่องผลิตออกซิเจน *เงินงบประมาณ *บริจาค *ผู้ป่วยจัดซื้อเอง -กองทุนตำบล/อปท. -ผ้าป่า

ระบบการส่งต่อ-ส่งกลับ ผ่านระบบ refer link รถจิตอาสา (2559)

รับบริจาคซื้อ easy pump

หอเบาใจ เริ่มเปิด 1 พ.ค. 2562 เพื่อเป็นสถานที่ดูแลคนไข้ระยะท้าย ช่วง end of life, ปรับยา, เตรียมการ ดูแลที่บ้าน ไม่เกิน 1-2wk ญาติได้อยู่เฝ้าดูแลตลอดเวลา มีพื้นที่ในการทำกิจกรรมตามความ ต้องการของครอบครัว ยอดรวม 13 คน เฉลี่ยวันนอน 2.46 วัน ญาติพึงพอใจมาก

วงเบาใจ +คลินิกเบาใจ(รพ.อุดรธานี) สื่อสารเรื่องการตายดี: ACP อยู่อย่างมีความหมาย ตายอย่างมีคุณค่า