NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
Advertisements

การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
ชุมชนปลอดภัย.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การดูแลระยะกลาง (Intermediate Care)
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
COMPETENCY DICTIONARY
เอกรัฐ บูรณถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 7 มีนาคม 2559
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 19 ธันวาคม 2560
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กระบวนงานการให้บริการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
ขดลวดพยุงสายยาง.
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
พ.ต.อ.หญิงนพมาศ ขำสมบัติ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care) ........................................................ การส่งต่อและการรับผู้ป่วยเพื่อการรักษาต่อเนื่อง ตามขอบเขตของกฎหมาย Lect. Tanawat Ruamsook B.N.S., NP., M.N.S. (Community Health Nurse Practitioner) College of Nursing and Health, Suan Sunandha Ratjabhat University SSRU

คำจำกัดความ ระบบการส่งต่อ หมายถึง การส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ระหว่างสถานบริการสาธารณสุข ตั้งแต่ก่อนการส่งต่อ ขณะส่งต่อ และรับการส่งต่อ การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข หมายถึง การส่งเสริม ป้องกัน รักษาและการฟื้นฟู ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ การส่งต่อระหว่างสถานบริการสาธารณสุข หมายถึง การส่งต่อทั้งไปและกลับ จากสถานบริการสาธารณสุขตั้งแต่สถานบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิถึงระดับตติยภูมิ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

คำจำกัดความ (ต่อ) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2545) เรื่องมาตรฐานการส่งต่อผู้ป่วย การส่งต่อผู้ป่วย หมายความว่า การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากสถานที่หนึ่งเพื่อไปรับการรักษาต่อยังอีกสถานที่หนึ่งโดยสถานพยาบาลเป็นผู้นำส่ง การรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินได้แก่ ผู้ป่วยที่มีสัญญาณชีพอันตรายอยู่ในภาวะช่วยเหลือตนเองไม่ได้ มีอาการเข้าสู่ภาวะวิกฤต ต้องใช้อุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพมาดูแลผู้ป่วยโดยทันทีและต้องได้รับการรักษาที่เหมาะสมโดยเร็ว จะปฏิเสธการรักษามิได้ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

คำจำกัดความ (ต่อ) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2545) เรื่องมาตรฐานการส่งต่อผู้ป่วย 1.การส่งต่อผู้ป่วยด้วยยานพาหนะต้องมีความปลอดภัยเหมาะสม โดยคำนึงถึงโรค อาการและความรุนแรงของโรค 2. การส่งต่อผู้ป่วยต้องมีการสื่อสาร ประสานงาน ระหว่าง โรงพยาบาลที่จะรับไว้ล่วงหน้า พร้อมข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยตลอดจนข้อมูลทางการแพทย์ที่จำเป็น 3. การส่งต่อผู้ป่วยที่ยังมีภาวะ อาการของโรคต้องอยู่ในความดูแลของผู้ประกอบวิชาชีพจากโรงพยาบาล เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

คำจำกัดความ (ต่อ) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2545) เรื่องมาตรฐานการส่งต่อผู้ป่วย 4. ต้องมีการจัดให้ผู้ประกอบวิชาชีพหรือบุคลากรที่มีความสามารถในการดูแลผู้ป่วยที่เหมาะสมกับโรคและความรุนแรงของโรคไปพร้อมกับผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยในระหว่างการนำส่ง 5. ยานพาหนะในการนำส่งต้องมีมาตรฐานตามที่กำหนด 6. ผู้ป่วยหรือญาติมีสิทธิเลือกโรงพยาบาลที่จะไป รวมทั้งวิธีการนำส่ง เว้นแต่จะเป็นการเกินขอบขีดความสามารถของโรงพยาบาลที่นำส่งหรือเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย ให้โรงพยาบาลสามารถเลือกโรงพยาบาลรวมทั้งวิธีนำส่งที่เหมาะสมได้ 7. ต้องจัดให้มีการให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยหรือญาติเกี่ยวกับเหตุผลและความจำเป็นในการส่งต่อ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

วิธีการนำส่ง / ส่งต่อ ทางอากาศ โรงพยาบาล ทางบก ชุมชน ทางน้ำ SSRU เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

B Referral Center Referral System Refer back Refer in Refer out A Refer receive เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Referral System Refer Out (ส่งต่อ) คือ การส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพสูง ด้วยเหตุผล ในการส่งต่อ เช่น เกินศักยภาพ เพื่อการวินิจฉัย/รักษา ขาดเครื่องมือทางการแพทย์ เป็นต้น Refer In (รับส่งต่อ) คือ การรับผู้ป่วยที่ส่งมาจากสถานพยาบาลที่มีศักยภาพเดียวกันหรือ ต่ำกว่า ด้วยเหตุผลในการรับส่งต่อ เช่น ไม่สามารถตรวจวินิจฉัย/รักษาได้ ขาดผู้เชี่ยวชาญ เป็นต้น Refer Back / Refer out return (ส่งกลับ) คือ การส่งกลับผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลต้นทาง หลังจากได้รับการดูแลรักษา/วินิจฉัย เรียบร้อยแล้ว Refer Receive / Refer in return (รับกลับ) คือ การรับผู้ป่วยกลับจากสถานพยาบาลหนึ่ง ที่มีศักยภาพสูงกว่า หลังจากได้รับการดูแลรักษา/วินิจฉัย เรียบร้อยแล้ว เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

ข้อมูลในการส่งต่อ 1. ผู้ให้ประวัติ – ผู้นำส่ง 9. ปัญหาที่ต้องส่งต่อ 1. ผู้ให้ประวัติ – ผู้นำส่ง 9. ปัญหาที่ต้องส่งต่อ 2. ประวัติโรคประจำตัว การรักษาต่อเนื่อง ยาที่ใช้ประจำ 10. ประเมินสภาพผู้ป่วยก่อนนำส่ง 3. อาการสำคัญ 11. สิทธิ์การรักษา/ รพ. ต้นสังกัด 4. สาเหตุของการบาดเจ็บในผู้ป่วยอุบัติเหตุ วัน-เวลาที่เกิดเหตุ 12. การประสานงานล่วงหน้า/ 5. ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน ช่องทางพิเศษ 6. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญและค่าที่ผิดปกติ 13. การรักษากรณีมีการปรึกษา 7. การรักษาเบื้องต้น/การรักษาที่ได้รับ แพทย์เฉพาะทางก่อนส่งต่อ 8. รายละเอียดของการรักษาที่ได้รับก่อนส่งต่อ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

สาเหตุในการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัย / รักษา ขาดแพทย์เฉพาะทาง ขาดอุปกรณ์/เครื่องมือทางการแพทย์ เพื่อการผ่าตัด เพื่อชันสูตร ไปตามนัด รักษาตามสิทธิ์ ญาติและป่วยต้องการ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

เหตุผลในการปฏิเสธการรับการส่งต่อ เตียง ICU เต็ม เตียง Burn เต็ม เตียงทั่วไปเต็ม ขาด Respirator เด็ก ขาด Incubator เด็ก ขาดเครื่องมือทางการแพทย์ ข้อจำกัดทางการแพทย์ ภาระงานมากเกินไป เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

(ผู้ป่วยไร้เสถียรภาพ) Levels of Patient Acuity for Interfacility Transfer U: Unstable (ผู้ป่วยไร้เสถียรภาพ) หมายถึง ผู้ป่วยที่หลังให้การดูแลอย่างเต็มที่แล้ว สัญญาณชีพ ยังไม่คงที่ ไร้เสถียรภาพ หรือมีความต้องการการดูแลที่เฉพาะเจาะจง เป็นพิเศษ เช่น - Post cardiac arrest - ผู้ป่วยที่ใช้ Intraaortic balloon pump - ผู้ป่วยบาดเจ็บ Multiple trauma ที่มีสัญญาณชีพไม่คงที่ ฯลฯ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Levels of Patient Acuity for Interfacility Transfer Stable with High risk of deterioration (ผู้ป่วยมีเสถียรภาพ มีความเสี่ยงต่อการทรุดลงเฉียบพลันสูง) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีประวัติเสถียรภาพต่ำและหลังให้การดูแลรักษาเต็มที่แล้ว สัญญาณชีพมีเสถียรภาพ แต่มีความเสี่ยงต่อการทรุดลงเฉียบพลันสูงระหว่างการส่งต่อผู้ป่วย เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Levels of Patient Acuity for Interfacility Transfer M : Stable with Medium risk of deterioration (ผู้ป่วยมีเสถียรภาพ มีความเสี่ยงต่อการทรุดลงเฉียบพลันปานกลาง) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีความจำเป็นต้องเฝ้าระวังสัญญาณชีพอย่างใกล้ชิดระหว่างส่งต่อ โดยการติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจ / การหายใจ / ออกซิเจนในกระแสเลือด / ความดันโลหิต / ระดับความรู้สึกตัว ทุก 5 -15 นาที หรือผู้ป่วยที่ได้รับยาความเสี่ยงสูงทางหลอดเลือดดำ เช่น Heparin, Nitroglycerine เป็นต้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Levels of Patient Acuity for Interfacility Transfer L : Stable with Low risk of deterioration (ผู้ป่วยมีเสถียรภาพ มีความเสี่ยงต่อการทรุดลงเฉียบพลันต่ำ) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีความจำเป็นต้องได้รับสารน้ำระหว่างส่งต่อ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Levels of Patient Acuity for Interfacility Transfer N : Stable with No risk of deterioration (ผู้ป่วยมีเสถียรภาพ ไม่มีความเสี่ยงต่อการทรุดลงเฉียบพลัน) หมายถึง ผู้ป่วยที่ไม่จำเป็นต้องได้รับสารน้ำระหว่างส่งต่อ อาจจะได้รับการ On Saline lock / Heparin lock แต่มีความจำเป็นต้องส่งต่อไปสถานพยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า ซึ่งอาจไปโดยวิธีไปด้วยตนเอง หรือ โดยรถพยาบาล ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

1 2 3 Pre Transfer During Transfer Post Transfer การเตรียมผู้ป่วยฉุกเฉิน เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Pre Transfer Airway & C-spine protection Breathing & Ventilation Circulation & Bleeding control Disability, Deformity, Drain, Drug - Suction clear airway - Remove FB - O2 therapy - ICD care - IVF / Blood - Shock? - ประเมินความรู้สึกตัว : GCS - ดามกระดูกแขน-ขา - Drainage care ตรวจสอบและบันทึกปริมาณ - Drug management เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

During Transfer ตรวจสอบสภาพความเรียบร้อยและความพร้อมในการใช้งานของเครื่องมือ ตรวจสภาพและดูแลผู้ป่วย ตามการประเมิน ABCD เฝ้าระวังและบันทึกสัญญาณชีพของผู้ป่วย ดูแลผู้ป่วยตามแนวปฏิบัติที่กำหนดไว้ กรณีพบความผิดปกติ ให้รายงานแพทย์ผู้สั่งการทราบ ติดต่อประสานงาน รพ.ปลายทางเป็นระยะ เพื่อแจ้งกำหนดเวลา ตระหนักถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ขณะส่งต่อผู้ป่วย ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ประเมินสภาพผู้ป่วย สัญญาณชีพหรืออาการสำคัญก่อนถึง รพ.ปลายทาง ให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วย ครอบครัว หรือญาติผู้ป่วย เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

รับมอบผู้ป่วยฉุกเฉิน ส่งมอบผู้ป่วยฉุกเฉิน Post transfer รับมอบผู้ป่วยฉุกเฉิน ส่งมอบผู้ป่วยฉุกเฉิน ประเมินความพร้อมและความปลอดภัยของผู้ป่วย ก่อนส่งมอบแก่สถานพยาบาลปลายทาง ส่งมอบ.... - ประวัติการเจ็บป่วย - การดูแลรักษาเบื้องต้น - ส่งต่ออาการปัจจุบัน - เอกสารต่างๆ เช่น แบบฟอร์มการส่งต่อ เอกสาร ประจำตัวผู้ป่วย (ผล Lab, EKG และ Film X-ray ) ประเมินอาการแรกรับของผู้ป่วย รับรายงานอาการจากบุคลากรผู้นำส่ง โดยเฉพาะ V/S อาการเปลี่ยนแปลงที่ทรุด เป็นต้น รับมอบเอกสารใบส่งต่อผู้ป่วย ตรวจเช็ค/ส่งคืน/แลกเปลี่ยนอุปกรณ์ตามข้อตกลง หลักฐานสิทธิการรักษา ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ถ้ามี) ประเมินผลคุณภาพสงต่อและป้อนกลับผลการประเมิน เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Refer back Refer in (Refer in) Refer out Refer receive (Refer out) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

เอกสารอ้างอิง วราภรณ์ บุญเชียง และวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์. (2557). การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยา ศรีดามา. (2552). การสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสภาการพยาบาล. (2551). ข้อกำหนดการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง.(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน. (2557). การปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินระหว่างสถานพยาบาล (Interfacility Patient Transfer). กรุงเทพฯ: บริษัท อัลทิเมท พริ้นติ้ง จำกัด. สภาการพยาบาล. (2541). กฎหมายกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์.(พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการรักษาโรคเบื้องต้น เภสัชวิทยาและภาวะฉุกเฉิน. ปีการศึกษา 2559. หลักสูตร พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU